X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เล่นอย่างไร ให้ลูกหัวไว ในช่วงขวบปีแรก

บทความ 3 นาที
เล่นอย่างไร ให้ลูกหัวไว ในช่วงขวบปีแรก

การเล่นกับลูก ในช่วงขวบปีแรก มีส่วนช่วยให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีได้นะครับ

เล่นอย่างไร ให้ลูกหัวไว ในช่วงขวบปีแรก

การเล่นของเด็กนั้น เป็นกิจกรรมที่สำคัญสำหรับเด็ก ซึ่งการจัดการเล่นที่เหมาะสม และสอดคล้องกับความสามารถและทักษะของเด็กในแต่ละวัย ก็จะช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้มีความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นครับ ในแต่ละช่วงนั้น เล่นอย่างไร ให้ลูกหัวไว ไปติดตามกันเลยครับ

เล่นอย่างไร ให้ลูกหัวไว

อายุ 1 – 3 เดือน

คุณพ่อคุณแม่สามารถเล่นกับลูกได้โดยการสัมผัสพูดคุย ซึ่งลูกน้อยจะยิ้ม และตอบสนองต่อเสียงรอบข้าง และอาจจะใช้โมบายสีสดใส ให้ลูกเล่นเพื่อบำรุงสายตา หรือโมบายแบบที่เขย่ามีเสียงดัง หรือมีเสียงเพลง ก็จะสามารถกระตุ้นพัฒนาการของลูกน้อยได้เช่นกันครับ

อายุ 4 – 5 เดือน

ลูกน้อยเริ่มจำหน้าบุคคลใกล้ชิดได้ คอแข็ง พลิกคว่ำได้ พยายามไขว่คว้าสิ่งของที่ต้องการด้วยตัวเอง และชอบจับของเล่นเข้าปาก

อาจจะให้ลูกเล่นของเล่นที่ใช้มือจับ เขย่าแล้วมีเสียง เมื่อลูกเล่นแล้วจะทำให้เด็กอารมณ์ดี หัวเราะเสียงดัง แต่ต้องระวังเรื่องความปลอดภัย ไม่มีความคม และต้องระวังอันตรายจากการที่ลูกอาจจะเอาของเล่นเข้าปากทำให้เกิดอันตรายได้

อายุ 5 – 6 เดือน

ช่วงนี้ลูกจะเคลื่อนไหวได้คล่องขึ้น สนใจสิ่งต่างๆรอบตัวมากขึ้น อยากรู้อยากเห็น และชอบหยิบจับของรอบตัว คุณพ่อคุณแม่ควรให้ลูกเล่นของเล่นที่จับแกว่งแล้วมีเสียงดัง หรือกล่องดนตรี หรืออาจจะให้ลูกเล่นกับเงาในกระจกเพื่อช่วยพัฒนาการได้เช่นกัน

อายุ 6 – 7 เดือน

ช่วงเวลานี้ลูกจะเริ่มนั่งพิงได้ และเริ่มเล่นรุนแรงขึ้น คุณอาจให้ลูกเล่นตุ๊กตาล้มลุก ตุ๊กตาไขลาน ที่มีเพลงดังออกมาเป็นจังหวะ เพื่อให้ลูกขยับร่างกายตามจังหวะเพลง

ติดตามการเล่นของลูกต่อหน้าถัดไปครับ

อายุ 7- 8 เดือน

ลูกจะเริ่มซน และเริ่มคลานได้ เด็กบางคนอาจจะเริ่มปีนป่ายขึ้นเก้าอี้ คลานขึ้นบันได ชอบรื้อของเล่นออกจากกล่องแล้วโยนไปทั่ว บางคนชอบใช้มือปัดเมื่อไม่พอใจ เมื่อถูกแย่งของจะโกรธและร้องไห้ และเริ่มมีฟันขึ้น

พ่อแม่อาจจะให้ลูกของเล่นชนิดเดิมที่มีเสียงต่อไป และช่วงนี้ลูกจะเริ่มสนใจสิ่งของภายในบ้านเช่นไม้ขนไก่ โทรศัพท์ หรือของชิ้นใหญ่ๆที่มีอยู่ในบ้าน

เล่นอย่างไร

อายุ 8 – 9 เดือน

ลูกจะเริ่มคลานได้คล่องขึ้น เริ่มเข้าใจความหมายของคำพูดต่างๆ และเริ่มเปล่งเสียงได้ คุณพ่อคุณแม่ก็อาจจะเล่นจ๊ะเอ๋กับลูก เพื่อให้ลูกมีการตอบสนอง หรืออาจหาของเล่นที่เคาะแล้วมีเสียงดังเช่นกลอง ระนาด เพื่อให้ลูกขยับร่างกายตามจังหวะ

อายุ 9 – 10 เดือน

ลูกจะเริ่มเกาะเดินได้ ลูกจะซนมากขึ้นและไม่อยู่นิ่ง สนใจทุกสิ่งที่มองเห็น และเริ่มเลียบแบบท่าทางของผู้ใหญ่ ช่วงนี้คุณพ่อคุณแม่ต้องดูแลลูกอย่างใกล้ชิดเป็นพิเศษ เพราะลูกอาจจะไม่สนใจของเล่น และเริ่มหันไปเล่นของใช้ภายในบ้าน เช่น ถ้วยชาม กล่องเครื่องสำอาง หรือปลั๊กไฟ ลูกจะชอบเล่นเพราะอยากสำรวจ อยากรู้อยากเห็น จึงต้องคอยระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากความรู้เท่าไม่ถึงการของเด็กได้

อายุ 11 – 12 เดือน

ลูกเริ่มก้าวเดินได้ ไต่ขึ้นบันไดได้ พูดป็นคำได้ แต่เด็กบางคนอาจจะยังไม่พูดแต่ฟังรู้เรื่อง มีความอยากรู้อยากเห็นเพิ่มขึ้น และชอบออกนอกบ้าน

คุณพ่อคุณแม่ควรเล่นกับลูกเชิงสำรวจ เล่นรถลาก พาลูกออกไปสนามเด็กเล่น แกว่งชิงช้า เล่นม้าโยก ม้าหมุน เพื่อเสริมสร้างทักษะทางการเคลื่อนไหวของลูกน้อย

อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงเวลาใด คุณพ่อคุณแม่ควรดูแลลูกอย่างใกล้ชิดในระหว่างที่ลูกเล่นของเล่น เพราะความปลอดภัยเป็นสิ่งสำคัญที่สุดครับ


ที่มา med.cmu.ac.th

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ

10 วิธีรับมือ ลูกชอบกัดหัวนมแม่ตอนให้นม

ภาวะสมองกระเทือนของลูกน้อยอันตรายกว่าที่คิด

parenttown

 

บทความจากพันธมิตร
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
51Talk แพลตฟอร์มเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ สำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี ถือฤกษ์ดีประกาศเปิดสำนักงานในกรุงเทพฯ เพื่อเดินหน้าพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในประเทศไทย
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
แชร์กิจกรรมบำบัดเด็กสมาธิสั้น ตัวช่วยดี ๆ เพิ่มสมาธิให้ลูกรักมากขึ้น!
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • เล่นอย่างไร ให้ลูกหัวไว ในช่วงขวบปีแรก
แชร์ :
  • วิธีเล่นกับลูก เพื่อกระตุ้นพัฒนาการทารก ให้ฉลาด หัวไว เล่นได้เล่นดี ไม่ต้องใช้ของเล่น

    วิธีเล่นกับลูก เพื่อกระตุ้นพัฒนาการทารก ให้ฉลาด หัวไว เล่นได้เล่นดี ไม่ต้องใช้ของเล่น

  • เล่นกับลูกอย่างไร เพื่อให้ลูกมีความคิดสร้างสรรค์ 100 เรื่องพ่อแม่ต้องรู้ก่อนลูก 1 ขวบ

    เล่นกับลูกอย่างไร เพื่อให้ลูกมีความคิดสร้างสรรค์ 100 เรื่องพ่อแม่ต้องรู้ก่อนลูก 1 ขวบ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • วิธีเล่นกับลูก เพื่อกระตุ้นพัฒนาการทารก ให้ฉลาด หัวไว เล่นได้เล่นดี ไม่ต้องใช้ของเล่น

    วิธีเล่นกับลูก เพื่อกระตุ้นพัฒนาการทารก ให้ฉลาด หัวไว เล่นได้เล่นดี ไม่ต้องใช้ของเล่น

  • เล่นกับลูกอย่างไร เพื่อให้ลูกมีความคิดสร้างสรรค์ 100 เรื่องพ่อแม่ต้องรู้ก่อนลูก 1 ขวบ

    เล่นกับลูกอย่างไร เพื่อให้ลูกมีความคิดสร้างสรรค์ 100 เรื่องพ่อแม่ต้องรู้ก่อนลูก 1 ขวบ

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว