X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกโมโหร้าย พ่อแม่จะแก้นิสัยให้ลูกยังไง ไม่ให้ทำอีก ไม่ให้ โมโหร้าย

บทความ 3 นาที
ลูกโมโหร้าย พ่อแม่จะแก้นิสัยให้ลูกยังไง ไม่ให้ทำอีก ไม่ให้ โมโหร้ายลูกโมโหร้าย พ่อแม่จะแก้นิสัยให้ลูกยังไง ไม่ให้ทำอีก ไม่ให้ โมโหร้าย

ลูกโมโหร้าย พ่อแม่จะแก้นิสัยให้ลูกยังไง ไม่ให้ทำอีก เทวดานางฟ้าน้อยหายไป เหมือนลูกโดนผีเข้า แต่มันคือเรื่องปกติของเด็กๆ ที่ยังควบคุมตัวเองไม่ได้เท่านั้นเอง

ลูกโมโหร้าย พ่อแม่จะแก้นิสัยให้ลูกยังไง ไม่ให้ทำอีก เด็กๆ โมโหร้าย เพราะยังไม่สามารถคุมอารมณ์ของตัวเองได้ทั้งหมด การแสดงออกมาจึงยากที่ผู้ใหญ่จะรับมือค่ะ แต่การปล่อยปละละเลย จนไม่ทำอะไรเลยกับพฤติกรรม โมโหร้าย แบบนี้ของลูก รังแต่จะส่งผลเสียให้เจ้าตัวเล็กนะคะ

 

ลูกโมโหร้าย แบบไหนที่พ่อแม่ต้องจัดการ

อารมณ์เสีย อารมณ์โมโห เกิดขึ้นได้กับคนทุกคน ไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือเป็นผู้ใหญ่ แต่การแสดงออกแบบไหนกันแน่ ที่จะทำให้สถานการณ์ยิ่งเลวร้ายลงไปกันใหญ่ ได้แก่

  • ชก
  • ตี
  • ผลัก
  • กัด
  • ตบ

 

ทำไมลูกถึงโมโหร้ายแบบนี้

มีหลายเหตุผลที่แตกต่างกันไปค่ะ สำหรับสาเหตุของการกระทำของเด็กๆ นั้น เช่น ลูกยังไม่รู้ว่าสิ่งไหนทำได้ สิ่งไหนทำไม่ได้ ดังนั้นลูกจึงไม่รู้ว่าพฤติกรรมของเขา ไม่เป็นที่ยอมรับจากคุณพ่อคุณแม่ต่อสถานการณ์นั้นๆ การปล่อยให้ลูกทำ จึงเป็นการบอกลูกว่า ลูกทำได้นั่นเองค่ะ

บทความที่น่าสนใจ เทศกาล เด็กร้องไห้ Naki Sumo เด็กคนไหนร้องไห้ก่อน คนนั้นชนะ

ลูกโมโหร้าย พ่อแม่จะแก้นิสัยให้ลูกยังไง ไม่ให้ทำอีก ไม่ให้ โมโหร้าย

ลูก โมโหร้าย ทำไงดี

 

ลูกไม่รู้จะทำยังไง เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ทำให้เขารู้สึกไปในด้านลบ เช่น โกรธ โมโห ไม่พอใจ สิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ต้องสอนลูกคือ ให้ลูกเรียนรู้ว่าอารมณ์และความรู้สึกนี้เรียกว่าอะไร และควรทำอย่างไรกับมัน เช่น อธิบายด้วยคำพูด ตะโกนใส่หมอน หรือออกกำลังกายเป็นต้น

หากคุณพ่อคุณแม่ไม่รู้สาเหตุของการโมโหหรือความรุนแรงที่ลูกทำลงไป ให้ค่อยๆ ไล่ถาม และคุยกับลูกเยอะๆ ค่ะ เนื่องจากเด็กๆ บางทีก็ไม่สามารถอธิบายได้ตรงตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง และนั่นก็พาลจะทำให้ลูกรู้สึกแย่มากขึ้น ดังนั้นการพูดคุยกับลูกเยอะๆ จึงช่วยได้มากนั่นเอง

 

กำจัดพฤติกรรม โมโหร้าย ยังไงดี

เมื่อคุณพ่อคุณแม่พบว่า ลูกกลายเป็นเด็กที่โมโหร้ายแล้ว อย่ารอเพราะคิดว่าลูกยังเด็กอยู่ อย่าไปอะไรกับลูกเลย นั่นคือความคิดที่ผิดอย่างสิ้นเชิงค่ะ อย่างที่บอกไปข้างต้นคือ พฤติกรรมโมโหร้ายนี้ หากปล่อยไว้ นั่นคือการบอกลูกว่า เป็นพฤติกรรมที่รับได้ สิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ต้องทำคือ ทำให้ลูกรู้ว่าลูกไม่สามารถทำแบบนี้ได้ และต้องหยุดพฤติกรรมที่ลูกทำลงไปทันทีค่ะ

หากเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นตามที่สาธารณะ หรือสถานที่ๆ มีคนพลุกพล่าน ให้พาลูกออกมาจากจุดนั้นก่อนค่ะ คุณพ่อคุณแม่จะได้ทำให้ลูกสงบลงก่อนที่จะคุยกับลูก หากลูกยังงอแงไม่ยอมออกมา ก็ให้ใช้วิธีเบี่ยงเบนความสนใจค่ะ

จากนั้นให้ปลอบลูก ให้ลูกสงบลงก่อน แล้วลองให้ลูกเล่าเรื่องราวให้คุณฟัง จากนั้นคุณพ่อคุณแม่ค่อยบอกลูกว่า คุณเห็นลูกทำพฤติกรรมอะไรท่ี่คุณไม่ยอมรับ พฤติกรรมนั้นไม่ดียังไง และมันทำให้คุณพ่อคุณแม่รู้สึกยังไง จากนั้นบอกสิ่งที่ลูกควรทำแทน และสิ่งนั้นทำให้คุณพ่อคุณแม่รู้สึกดีแค่ไหน

 

ขอเวลานอก

หากลูกไม่มีท่าทีว่าจะสงบลง การหามุมหรือห้องให้ลูก เพื่อให้ลูกสงบลงด้วยตัวเองก่อน คือสิ่งที่ควรทำค่ะ บอกลูกให้ไปนั่งเข้ามุม เมื่อสงบแล้ว แม่จะมาคุยด้วย หรือค่อยเล่าให้แม่ฟัง เพราะถ้าลูกยังพูดไม่รู้เรื่องแบบนี้ แม่ก็ฟังไม่รู้เรื่อง เป็นต้น หากไม่มีมุมสงบหรือพื้นที่เพียงพอ อาจจะแค่รอให้ลูกสงบลงก็ได้ค่ะ

 

ลูก โมโหร้าย ทำไงดี

ลูก โมโหร้าย ทำไงดี

 

สิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ต้องทำให้ได้คืออย่าวีนแตกเสียเอง อย่าอารมณ์ขึ้น หัวร้อนกับลูกโดยเด็ดขาด เพราะลูกกำลังจดจำสิ่งที่คุณทำค่ะ คุณพ่อคุณแม่ก็ต้องสงบสติอารมณ์ของตัวเองลงให้ได้ก่อนนะคะ ยิ่งคุณพ่อคุณแม่แรงกับลูก ลูกจะยิ่งแรงกลับมา แล้วเมื่อถึงตอนนั้น สถานการณ์มันอาจจะเกินเยียวยาแล้วก็ได้ค่ะ

 

สิ่งที่พ่อแม่ต้องจำไว้คือ

ไม่มีแนวทางไหนที่ใช้ได้ผลเสมอไป หากคุณพ่อคุณแม่ลองวิธีนี้แล้ว ไม่ได้ผลกับลูกๆ ก็อาจจะเปลี่ยนวิธีได้เช่นกันนะคะ แต่ก็ขอให้มีความอดทน เพราะการปรับพฤติกรรมของเด็กๆ นั้น ไม่ใช่ว่าทำวันสองวัน แล้วพฤติกรรมของลูกจะเปลี่ยนไปเลย เป็นไปไม่ได้ค่ะ แต่ขอให้คุณพ่อคุณแม่คิดไว้เสมอว่ามันคือเรื่องปกติที่พ่อแม่ทุกคนจะต้องเจอ เป็นบททดสอบของคุณพ่อคุณแม่ ที่ต้องใช้ความรักและจิตวิทยาในการแก้ไขนั่นเอง

 

ที่มา Momjunction

บทความที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เช็กให้ชัวร์ก่อนพลาดกับ พัฒนาการ 5 ปีทองแรกของลูก
เช็กให้ชัวร์ก่อนพลาดกับ พัฒนาการ 5 ปีทองแรกของลูก

แม่โมโหใส่ลูก เปรียบเสมือนน้ำมันรดกองไฟจริงหรือ?

คำสารภาพ จากแม่ใจร้อนชอบวีนแตก ถึงลูกตัวน้อยวัย 4 ขวบ

parenttown

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ลูกโมโหร้าย พ่อแม่จะแก้นิสัยให้ลูกยังไง ไม่ให้ทำอีก ไม่ให้ โมโหร้าย
แชร์ :
  • คลอดลูกยังไง ไม่ให้ปากช่องคลอดฉีกขาด

    คลอดลูกยังไง ไม่ให้ปากช่องคลอดฉีกขาด

  • ลูกน้ำหนักเกิน อ้วนไปแล้ว คุมน้ำหนักลูกยังไง ไม่ให้กลายเป็นข้าวต้มมัด

    ลูกน้ำหนักเกิน อ้วนไปแล้ว คุมน้ำหนักลูกยังไง ไม่ให้กลายเป็นข้าวต้มมัด

  • 200 ชื่อจริงภาษาอังกฤษ ตั้งชื่ออังกฤษ ความหมายดี ชื่อผู้หญิงผู้ชาย ภาษาอังกฤษ

    200 ชื่อจริงภาษาอังกฤษ ตั้งชื่ออังกฤษ ความหมายดี ชื่อผู้หญิงผู้ชาย ภาษาอังกฤษ

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

app info
get app banner
  • คลอดลูกยังไง ไม่ให้ปากช่องคลอดฉีกขาด

    คลอดลูกยังไง ไม่ให้ปากช่องคลอดฉีกขาด

  • ลูกน้ำหนักเกิน อ้วนไปแล้ว คุมน้ำหนักลูกยังไง ไม่ให้กลายเป็นข้าวต้มมัด

    ลูกน้ำหนักเกิน อ้วนไปแล้ว คุมน้ำหนักลูกยังไง ไม่ให้กลายเป็นข้าวต้มมัด

  • 200 ชื่อจริงภาษาอังกฤษ ตั้งชื่ออังกฤษ ความหมายดี ชื่อผู้หญิงผู้ชาย ภาษาอังกฤษ

    200 ชื่อจริงภาษาอังกฤษ ตั้งชื่ออังกฤษ ความหมายดี ชื่อผู้หญิงผู้ชาย ภาษาอังกฤษ

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ