X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกเป็นโรคเสพติดอาหารอยู่หรือเปล่า

บทความ 3 นาที
ลูกเป็นโรคเสพติดอาหารอยู่หรือเปล่า

โรคเสพติดอาหาร น่ากลัวกว่าที่คิด! เพราะเป็นต้นตอของโรคอ้วน และโรคภัยอื่นๆ ที่จะมาทำร้ายลูกรัก

โรคเสพติดอาหาร น่ากลัวกว่าที่คิด!

เวลาที่ใครพูดว่า เสพติดการกินอาหาร อาจจะฟังดูเกินจริง เหมือนเป็นคำเปรียบเปรยการชอบทานอาหารซ้ำๆ เพียงประเภทเดียว แต่มีผลวิจัยออกมายืนยันแล้วว่า โรคเสพติดอาหาร ไม่ใช่แค่การเปรียบเปรย นี่คือความจริง! โรคเสพติดอาหารนั้นสามารถเป็นได้จริงๆ และไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ ก็เป็นโรคนี้ได้

แล้วโรคเสพติดอาหารไม่ดีอย่างไร ก็แค่การชอบกินไม่ใช่หรือ… ฟังดูไม่ส่งผลอะไรกับชีวิตมากมาย แต่จริงๆ แล้ว โรคเสพติดอาหารเป็นต้นตอของโรคอ้วน โดยเฉพาะโรคอ้วนในเด็ก โรคที่น่ากังวลใจสำหรับพ่อแม่ เพราะเป็นจุดกำเนิดของโรคภัยอื่นๆ อีกมากมายที่จะตามมา

จากผลวิจัยที่เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ journals.plos.org เปิดเผยว่า นักวิจัยได้สอบถามนักเรียนถึงพฤติกรรมการกินในแต่ละวัน โดยเด็กๆ ส่วนใหญ่ รู้อยู่แล้วว่าสิ่งที่กินอยู่นั้นไม่ดี แต่ก็ยังอยากจะกิน

 

โรคเสพติดอาหาร น่ากลัวกว่าที่คิด!

แล้วอาหารอะไรที่ติดอันดับการเสพติดอาหาร?

นักวิจัยลองเปรียบเทียบอาหาร 35 ชนิด ตั้งแต่ไก่ทอด เฟรนช์ฟราย ไปจนถึงแอปเปิ้ลและบร็อคโคลี พบว่า พิซซ่าคืออาหารที่ถูกเสพติดเยอะที่สุด ตามมาด้วยช็อกโกแลต มันฝรั่งทอดกรอบ คุกกี้ และไอศกรีม

ส่วนสาเหตุที่ว่าทำไมถึงเป็นอาหารเหล่านี้ ก็เพราะพวกนี้เป็นอาหารแปรรูป ที่ปรุงแต่งรสชาติ น้ำตาลสูง เกลือเยอะ อร่อยจนทำให้เด็กๆ เสพติด โดยอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตแปรรูปที่ดูดซึมสู่ร่างกายและเข้าสู่กระแสเลือดได้อย่างรวดเร็ว พร้อมจะนำไปใช้ได้ทันทีนั้น เป็นอาหารที่ให้พลังงานเร็ว ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงแต่ไม่เสถียร ผลก็คือเด็กที่กินอาหารเหล่านี้เป็นประจำจะอ้วนขึ้นโดยไม่รู้ตัว

 

วิธีสังเกตว่าลูกเป็นโรคเสพติดอาหารอยู่หรือเปล่า

1.กินมากเกินไปและไม่สามารถควบคุมได้ หรือไม่อยากหยุดกิน แม้จะไม่ได้รู้สึกหิว

2.กินอาหารเดิมๆ ซ้ำๆ เป็นประจำ อยากกินอาหารอยู่อย่างเดียว ไม่อยากกินอย่างอื่น

3.กินในสิ่งที่รู้ว่าไม่ดี กินแม้ว่าพ่อแม่จะกำชับไม่ให้กิน เพราะเป็นสิ่งไม่มีประโยชน์

 

วิธีแก้พฤติกรรม โรคเสพติดอาหาร

เริ่มแรกต้องค่อยๆ เปลี่ยนพฤติกรรมของลูก เช่น ถ้าลูกชอบกินพิซซ่าก็ลดปริมาณของพิซซ่าลง แล้ววางสลัดให้ลูกทานแทน และลองพูดคุยกับลูกเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แนะนำให้ลูกทานสิ่งที่มีประโยชน์แทน ค่อยๆ เปลี่ยนเมนูอื่นๆ ให้ลูกฝึกกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ อาจหั่วผลไม้หรือให้ลูกทานถั่ว เพื่อลดพวกช็อกโกแลตและมันฝรั่งทอด

เพราะโรคเสพติดอาหารเริ่มจากการกิน ถ้าจะรักษาโรคนี้ก็ต้องแก้ไขด้วยการเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของลูกให้ได้

 

ที่มา : sg.theasianparent.com

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

การเลือกซื้ออาหาร เพื่อสุขภาพของทุกคนในครอบครัว

เริ่มต้นวันใหม่ ด้วยอาหารเช้ามีประโยชน์

theAsianparent Community

บทความจากพันธมิตร
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Tulya

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ลูกเป็นโรคเสพติดอาหารอยู่หรือเปล่า
แชร์ :
  • ลูกไม่กลับหัวน่ากลัวกว่าที่คิด แม่ท้องต้องระวัง

    ลูกไม่กลับหัวน่ากลัวกว่าที่คิด แม่ท้องต้องระวัง

  • 10 สิ่งที่ทารกแสดงออกตอนเกิด ที่ใครเห็นก็ต้องรักต้องหลงแน่นอน

    10 สิ่งที่ทารกแสดงออกตอนเกิด ที่ใครเห็นก็ต้องรักต้องหลงแน่นอน

  • การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

    การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ลูกไม่กลับหัวน่ากลัวกว่าที่คิด แม่ท้องต้องระวัง

    ลูกไม่กลับหัวน่ากลัวกว่าที่คิด แม่ท้องต้องระวัง

  • 10 สิ่งที่ทารกแสดงออกตอนเกิด ที่ใครเห็นก็ต้องรักต้องหลงแน่นอน

    10 สิ่งที่ทารกแสดงออกตอนเกิด ที่ใครเห็นก็ต้องรักต้องหลงแน่นอน

  • การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

    การกินยาคุม กับ ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน เรื่องสำคัญที่ควรต้องรู้

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ