X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกกลัวน้ำ ว่ายน้ำไม่ได้ จะเสี่ยงจมน้ำไหม แก้ไขยังไงดี

บทความ 3 นาที
ลูกกลัวน้ำ ว่ายน้ำไม่ได้ จะเสี่ยงจมน้ำไหม แก้ไขยังไงดี

ลูกกลัวน้ำ ว่ายน้ำไม่ได้ จะเสี่ยงจมน้ำไหม แก้ไขยังไงดี หนึ่งในทักษะที่สำคัญของเด็กไทยคงหนีไม่พ้นการว่ายน้ำได้ ไม่จมน้ำ แต่ถ้าลูกกลัวน้ำจะทำยังไงดีนะ

ลูกกลัวน้ำ ว่ายน้ำไม่ได้ จะเสี่ยงจมน้ำไหม แก้ไขยังไงดี

ลูกกลัวน้ำ ว่ายน้ำไม่ได้ จะเสี่ยงจมน้ำไหม แก้ไขยังไงดี เพราะวิถีชีวิตของคน พึ่งพาอาศัยลำน้ำมาอย่างยาวนาน ทั้งห้วยหนองคลองบึงและแม่น้ำ แต่ถ้าลูกกลัวน้ำมันน่าจะกลายเป็นปัญหาใหญ่เลยละ

นี่ยังไม่นับการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุอันดับหนึ่งของเด็กไทยคือ การเสียชีวิตจากการจมน้ำนั่นเองค่ะ แต่ถ้าลูกกลัวน้ำ ลูกจะเอาตัวรอดจากน้ำได้ไหมนะ

สาเหตุของการกลัวน้ำ

เด็กๆ บางทีก็ไม่มีสาหตุของอาการกลัวค่ะ และสิ่งที่เด็กๆ กลัวนั้น บางทีก็เป็นเพียงแค่ ผิวสัมผัสที่ขรุขระ พื้นผิวที่มันวาว กลัวบางส่วนของบันได กลัวการเดินบนหญ้า เป็นต้น แต่สิ่งที่เหมือนกันคือ เด็กๆ มักจะกลัวในสิ่งที่ไม่คุ้นเคย

เด็กบางคนแค่ไม่ชอบที่จะโดนน้ำ แต่เด็กบางคนชอบที่จะเล่นน้ำ แต่ไม่ชอบที่จะว่ายน้ำ เรื่องนี้มีสาเหตุค่ะ ในน้ำเป็นสถานที่แปลกๆ ที่เด็กๆ รู้สึกว่าไม่มีทางหนี เหมือนกับการติดกับ แต่อย่าเพิ่งถอดใจไปค่ะ ทุกอย่างมีการแก้ไข และช่วยให้บรรเทาลงได้

พ่อแม่ช่วยลูกได้ยังไง

จำเอาไว้ว่าความอดทนรอคอยลูกนั้น คือสิ่งจำเป็นที่สุดค่ะ ลูกกลัวน้ำเป็นเรื่องปกติ และการแก้ปัญหานี้ไม่ได้มีเพียงแค่ทางเดียวนะคะ ไม่ว่าจะเป็นเสียงน้ำไหลในอ่างอาบน้ำ หรือเมื่อลูกๆ เห็นน้องหมาที่บ้านกระโจนลงอ่างน้ำหรือสระน้ำอย่างสนุกสนาน มันอาจจะเป็นเรื่องที่ดูเล็กน้อยในสายตาผู้ใหญ่ แต่สิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ต้องทำคือ...

อย่าเร่ง 

ลูกไม่ผิดที่จะกลัว หากคุณพ่อคุณแม่พาลูกไปเรียนว่ายน้ำ แล้วเจ้าตัวเล็กอยากจะแค่นั่งมองเพื่อนๆ ก็ปล่อยลูกนั่งมองไปค่ะ เขาอาจจะยังลังเลอยู่ หรือเขินอายเมื่อเห็นเพื่อนๆ กล้ากระโดดลงสระน้ำ เพราะเมื่อลูกพร้อม เขาจะลองทำเอง

พึ่งพาอุปกรณ์

ห่วงแขนหรือห่วงยางหรือเสื้อชูชีพ เป็นตัวเลือกแรกๆ ที่จะช่วยให้ลูกรู้สึกปลอดภัยในน้ำค่ะ ช่วงแรกอาจจะให้ลูกใส่ไปก่อนได้ และเมื่อลูกเริ่มรู้สึกมั่นใจมากขึ้นแล้ว เขาอาจจะอยากถอดมันเอง แต่ข้อควรระวังคือ คุณพ่อคุณแม่อย่าวางใจ แม้ลูกจะใส่อุปกรณ์เหล่านี้ แต่ก็ต้องอยู่ในสายตาตลอดนะคะ เพราะอุบัติเหตุในน้ำสามารถเกิดขึ้นได้เสมอ และเพียงไม่กี่นาทีเท่านั้น

ช่วยให้ลูกคุ้นเคยกับน้ำ

บางอย่างก็สามารถฝึกได้ที่บ้านนะคะ ระหว่างการอาบน้ำลองให้ลูกจุ่มหน้าลงไปในน้ำ หรือให้ลูกลอยตัวและเตะขา อย่าลืมชมลูก ให้กำลังใจเขาไปด้วยละ สิ่งสำคัญคือ ลูกต้องสนุกและเต็มใจนะคะ อย่าบังคับลูกถ้าเขายังไม่พร้อม หรืออยากจะรีบขึ้นจากอ่างอาบน้ำ

คุณพ่อคุณแม่ต้องลงน้ำด้วย

การว่ายน้ำหรือแม้แต่การลองสิ่งใหม่ๆ ตอนลูกยังเล็ก สิ่งที่จะทำให้ลูกรู้สึกปลอดภัยและสบายใจ คือการที่คุณพ่อคุณแม่อยู่เคียงข้างลูกตลอดเวลาค่ะ ดังนั้นในการพาลูกไปว่ายน้ำก็เช่นกัน คุณพ่อคุณแม่จึงต้องลงไปกับลูกด้วยนั่นเอง

ลูกเรียนว่ายน้ำเมื่อไหร่ดี

เด็กๆ สามารถเรียนว่ายน้ำได้ตั้งแต่อายุหนึ่งขวบค่ะ หากลูกมีข้อจำกัดทางการแพทย์ มีโรคประจำตัว หรือคุณพ่อคุณแม่อยากให้ลูกเรียนว่ายน้ำก่อนหนึ่งขวบ(แต่ไม่แนะนำ) ควรพูดคุยปรึกษากับคุณหมอประจำตัวก่อนนะคะ

บทความจากพันธมิตร
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กสมาธิสั้น ดื้อ ซน อารมณ์รุนแรง มีโอกาสรักษาหายไหม?
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
เด็กดื้อ เด็กซน ใช่อาการเด็กสมาธิสั้นหรือไม่ โรคสมาธิสั้น คืออะไร ทำไมต้องรีบพาลูกไปรักษา
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School

ที่มา What To Expect

บทความที่น่าสนใจ

แม่ๆรู้ไหม? ให้เบบี๋ว่ายน้ำ ได้ประโยชน์มากกว่าที่คิด

รู้ไหม…การว่ายน้ำช่วยส่งเสริม กระตุ้นพัฒนาการทารกได้ดี

parenttown

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ลูกกลัวน้ำ ว่ายน้ำไม่ได้ จะเสี่ยงจมน้ำไหม แก้ไขยังไงดี
แชร์ :
  • ลูกว่ายน้ำได้ตอนไหน? มาดูกันเถอะว่าจะพาลูกไปว่ายน้ำเสริมทักษะได้ตอนไหน?

    ลูกว่ายน้ำได้ตอนไหน? มาดูกันเถอะว่าจะพาลูกไปว่ายน้ำเสริมทักษะได้ตอนไหน?

  • เด็กนมแม่น้ำหนักน้อย กินนมแม่ล้วน แต่ทำไม น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ทำอย่างไรดี

    เด็กนมแม่น้ำหนักน้อย กินนมแม่ล้วน แต่ทำไม น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ทำอย่างไรดี

  • สุดฮา! เปิดเทอมวันแรก หนูน้อยงัดไม้เด็ดใส่ครูไม่ยั้ง เห็นแล้วอดขำไม่ได้จริง ๆ

    สุดฮา! เปิดเทอมวันแรก หนูน้อยงัดไม้เด็ดใส่ครูไม่ยั้ง เห็นแล้วอดขำไม่ได้จริง ๆ

  • เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

    เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

  • ลูกว่ายน้ำได้ตอนไหน? มาดูกันเถอะว่าจะพาลูกไปว่ายน้ำเสริมทักษะได้ตอนไหน?

    ลูกว่ายน้ำได้ตอนไหน? มาดูกันเถอะว่าจะพาลูกไปว่ายน้ำเสริมทักษะได้ตอนไหน?

  • เด็กนมแม่น้ำหนักน้อย กินนมแม่ล้วน แต่ทำไม น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ทำอย่างไรดี

    เด็กนมแม่น้ำหนักน้อย กินนมแม่ล้วน แต่ทำไม น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ทำอย่างไรดี

  • สุดฮา! เปิดเทอมวันแรก หนูน้อยงัดไม้เด็ดใส่ครูไม่ยั้ง เห็นแล้วอดขำไม่ได้จริง ๆ

    สุดฮา! เปิดเทอมวันแรก หนูน้อยงัดไม้เด็ดใส่ครูไม่ยั้ง เห็นแล้วอดขำไม่ได้จริง ๆ

  • เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

    เล่าทั้งน้ำตา! ลูกชายวัย 4 ขวบ ตาบอดเฉียบพลัน โดยไม่มีสัญญาณเตือน!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ