X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เบี้ยประกันสังคมแบบใหม่ เงินเดือน 2 หมื่นขึ้น เก็บ 1 พันบาท จะดีเหร้อออ!!!

20 Oct, 2017
เบี้ยประกันสังคมแบบใหม่ เงินเดือน 2 หมื่นขึ้น เก็บ 1 พันบาท จะดีเหร้อออ!!!

 จะดีเหร้อออ!!! เบี้ยประกันสังคมแบบใหม่ เงินเดือน 2 หมื่นขึ้น เก็บ 1 พันบาท

ปรับเบี้ยประกันสังคมแบบใหม่ เงินเดือน 2 หมื่นขึ้น เก็บ 1 พันบาท จะดีเหร้อออ!!!

พิพากษ์วิจารณ์กันอย่างหนักบนโลกออกไลน์ หลังมีข้อความแชร์ต่อ ๆ กันว่า สำนักงานประกันสังคม เตรียมเก็บเงินสมทบสำหรับผู้ประกันตนเพิ่มขึ้นเป็น 1,000 บาท จากเดิม 750 บาท ทีมข่าวสอบถามข้อเท็จจริงไปยัง สำนักงานประกันสังคม ยืนยันว่า เป็นเรื่องจริง

มีรายงานว่า การเก็บเงินสมทบสำหรับผู้ประกันตนเพิ่มขึ้นเป็น 1,000 บาท จากเดิม 750 บาทนั้น นายสุรเดช วลีอิทธิกุล เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กล่าวว่า ขณะนี้การรับฟังความคิดเห็นต่อการร่างกฎหมายฉบับใหม่ ครบตามกระบวนการแล้ว ได้ข้อสรุปว่า ต้องมีการปรับเปลี่ยน จากเดิมที่เคยคิดคำนวณเงินสมทบจากฐานเงินเดือน 15,000 บาท เป็น 20,000 บาท โดยจะแบ่งการเก็บเงินสมบทเข้ากองทุนดังนี้ คือ

ผู้ที่มีเงินเดือนไม่ถึง 16,000 บาท ใช้ฐานคำนวณเดิม เก็บเงินเข้ากองทุน 750 บาท
เงินเดือน 16,000 แต่ไม่ถึง 20,000 บาท จะเก็บเงินสมทบเข้ากองทุน 800 บาท 
ส่วนผู้ที่มีฐานเงินเดือน 20,000 ขึ้นไป เก็บเงินสมทบเข้ากอนทุน 1,000 บาท

ปรับเบี้ยประกันสังคมแบบใหม่

 

โดยการขยายการคิดคำนวณเงินสมทบรูปแบบใหม่เป็นไปตามอัตราค่าจ้างขั้นต่ำของไทย หลังกฎหมายนี้ใช้มานานกว่า 27 ปี จึงไม่สอดคล้องกับค่าครองชีพที่ปรับขึ้น ส่วนการวิพากษ์วิจารณ์ถึงความเหมาะสม และการใช้ประโยชน์จากกองทุนประกันสังคมว่าคุ้มค่าหรือไม่ โดยยืนยันว่า การเก็บเงินสมทบรูปแบบใหม่ จะส่งผลดีต่อประชาชน โดยเฉพาะการคำนวณเงิน ที่จะได้รับหากตกงาน หรือ ไม่มีงานทำ

 

ที่มา : money.sanook.com

บทความเกี่ยวข้อง

บทความจากพันธมิตร
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ

สิทธิประโยชน์จากประกันสังคม หลังคลอดลูกต้องทำยังไงถึงจะได้เงินทดแทน 

ใช้ประกันสังคมฝากท้องได้ไหม สิทธิประกันสังคม คนท้อง ที่แม่ ๆ ควรรู้ 

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Weerati

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • เบี้ยประกันสังคมแบบใหม่ เงินเดือน 2 หมื่นขึ้น เก็บ 1 พันบาท จะดีเหร้อออ!!!
แชร์ :
  • ชัวร์ก่อนแชร์ เบี้ยประกันสังคมแบบใหม่เงินเดือน 2 หมื่นขึ้น เก็บ 1 พันบาท อยู่ในขั้นตอนพิจารณา

    ชัวร์ก่อนแชร์ เบี้ยประกันสังคมแบบใหม่เงินเดือน 2 หมื่นขึ้น เก็บ 1 พันบาท อยู่ในขั้นตอนพิจารณา

  • เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

    เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • ชัวร์ก่อนแชร์ เบี้ยประกันสังคมแบบใหม่เงินเดือน 2 หมื่นขึ้น เก็บ 1 พันบาท อยู่ในขั้นตอนพิจารณา

    ชัวร์ก่อนแชร์ เบี้ยประกันสังคมแบบใหม่เงินเดือน 2 หมื่นขึ้น เก็บ 1 พันบาท อยู่ในขั้นตอนพิจารณา

  • เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

    เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ