X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เป็นไปได้ไง นมไขมันต่ำ ทำลูกน้ำหนักเกิน

บทความ 3 นาที
เป็นไปได้ไง นมไขมันต่ำ ทำลูกน้ำหนักเกิน

เป็นไปได้ไง นมไขมันต่ำ ทำลูกน้ำหนักเกิน คนส่วนใหญ่เข้าใจมาโดยตลอดว่า ไขมันคือตัวการที่ทำให้ทั้งผู้ใหญ่และเด็กๆ มีน้ำหนักที่เกินเกณฑ์ แต่หากมันกลับกันละ

เป็นไปได้ไง นมไขมันต่ำ ทำลูกน้ำหนักเกิน

เป็นไปได้ไง นมไขมันต่ำ ทำลูกน้ำหนักเกิน แทนที่จะทำให้ลูกน้ำหนักลง เป็นเพราะอะไรกันนะที่ทำให้ลูกอ้วนขึ้น

ผลจากงานวิจัย

การเก็บข้อมูลที่ตีพิมพ์ในวารสาร Journal of Clinical Nutrition ที่ทำการเก็บข้อมูลจากเด็กๆ อายุตั้งแต่ 2-6 ปี จำนวน 2,745 คน พบว่า เด็กที่ดื่มนมไขมันเต็มนั้นผอมกว่าเด็กที่ดื่มนมไขมันต่ำหรือนมที่มีไขมันเพียง 1% หรือ 2%

จากการคำนวนค่า BMI และเก็บตัวอย่างเลือดเพื่อตรวจค่าวิตามิน D พบว่า

  • ค่า BMI เด็กที่ดื่มนมไขมันเต็ม น้อยกว่า เด็กที่ดื่มนมไขมันต่ำ ถึง 0.72 ยูนิต
  • เด็กที่ดื่มนมไขมันเต็มเพียงวันละ 1 แกล้ว มีค่าวิตามิน D ใกล้เคียงกับ เด็กที่ดื่มนมไขมันต่ำวันละ 3 แก้ว

นอกจากนี้ยังมีอีกหนึ่งงานวิจัยที่ทำการสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนจำนวน 10,700 คน พบว่า

  • นมไขมันเต็มนั้นจะทำให้อิ่มนานกว่า ลดการกินขนมจุบจิบและการกินอาหารแคลอรี่สูง
  • เด็กที่มีค่า BMI สูง จะได้รับนมไขมันต่ำเพียงอย่างเดียวเพื่อช่วยควบคุมน้ำหนัก อาจจะทำให้การเก็บข้อมูลคาดเคลื่อนได้

วิตามิน D ก็สำคัญ

บทบาทของวิตามินดีคือ ช่วยให้ร่างกายดูดซึมแคลเซียม และบทบาทใหม่ที่เพิ่งค้นพบคือ ช่วยป้องกันโรคเรื้อรังต่างๆ โดยที่ร่างกายจะรับวิตามินดีจากแสงแดดมากกว่าการกิน แต่ในยุคที่มีทั้งมลภาวะและการออกแดดบ่อยเสี่ยงเป็นมะเร็งผิวหนัง การกินจึงเป็นทางเลือกที่ปลอดภัยกว่า และวิตามินดีเป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน ดังนั้นนมที่มีไขมันเต็มจึงมีวิตามินดีเยอะกว่านมไขมันต่ำนั่นเองค่ะ

ลูกไม่กินนมได้ไหม

เมื่อก่อนอาจมีการแนะนำให้เด็กๆ ดื่มนมทุกวัน วันละ 2-3 แก้ว แต่จากสถิติน้ำหนักเกินในเด็กที่พุ่งขึ้นสูง อาจปรับเปลี่ยนแทนค่ะ โดยเด็กที่กินอาหารที่มีโปรตีน แคลเซียม และไขมันที่พอเพียงในมื้ออาหารแล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องดื่มนมเพิ่ม แต่สำหรับเด็กที่ไม่ค่อยกินข้าวแล้ว อาจจะจำเป็นที่จะต้องเสริมนม

แต่ที่แน่ๆ คือนมไขมันต่ำนั้นไม่จำเป็นต่อเด็กเล็ก เพราะไม่ช่วยในเรื่องของการคุมน่้ำหนักใดๆ เลย อย่างไรก็ตามในยุคนี้ มีเด็กๆ ที่แพ้นมวัวขึ้นเยอะมาก นมวัวจึงไม่ใช่สิ่งจำเป็นที่จะต้องดื่ม การหาอาหารที่มีโปรตีน แคลเซียม และไขมันดี ก็มีอยู่ได้ทั่วไปนะคะ

ไขมันยังจำเป็นอยู่

สำหรับเด็กๆ ในวัยที่กำลังเจริญเติบโต ยังต้องการไขมันที่ดี เพื่อไม่ให้หิวบ่อยระหว่างวัน หากคุณพ่อคุณแม่จะลองดูที่ฉลาก นมไขมันต่ำ อาจจะมีไขมันที่ต่ำก็จริง แต่อาจจะมีอย่างอื่นที่สูงขึ้นมาทดแทนรสชาติ อย่าง น้ำตาลจำนวนมาก ทำให้เด็กๆ เสี่ยงต่อเบาหวานได้เหมือนกันนะคะ

ดังนั้นการเลือกอาหารที่ดีมีประโยชน์ และไม่เสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนจึงเป็นสิ่งที่ดีที่สุดต่อลูกค่ะ นอกจากนี้เด็กๆ ควรมีการออกกำลังกายเป็นประจำทุกวัน จะทำให้ร่างกายแข็งแรง และเติบโตอย่างมีสุขภาพดีนะคะ

บทความจากพันธมิตร
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์

ที่มา Bellybelly

บทความที่น่าสนใจ

โรคแพ้โปรตีนนมวัว ปัญหาสุขภาพในเด็กที่ไม่ควรมองข้าม !!

ลูกเสี่ยงต่อการเป็นโรคขาดโปรตีนและพลังงาน จากการงดอาหารกลุ่มเสี่ยงโดยไม่จำเป็น

parenttown

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • เป็นไปได้ไง นมไขมันต่ำ ทำลูกน้ำหนักเกิน
แชร์ :
  • ลูกน้ำหนักเกิน อ้วนไปแล้ว คุมน้ำหนักลูกยังไง ไม่ให้กลายเป็นข้าวต้มมัด

    ลูกน้ำหนักเกิน อ้วนไปแล้ว คุมน้ำหนักลูกยังไง ไม่ให้กลายเป็นข้าวต้มมัด

  • คุณพ่อคุณแม่กลุ้มใจ ลูกน้ำหนักน้อย ตัวเล็กเกินไป ทำอย่างไรดีนะ

    คุณพ่อคุณแม่กลุ้มใจ ลูกน้ำหนักน้อย ตัวเล็กเกินไป ทำอย่างไรดีนะ

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • ลูกน้ำหนักเกิน อ้วนไปแล้ว คุมน้ำหนักลูกยังไง ไม่ให้กลายเป็นข้าวต้มมัด

    ลูกน้ำหนักเกิน อ้วนไปแล้ว คุมน้ำหนักลูกยังไง ไม่ให้กลายเป็นข้าวต้มมัด

  • คุณพ่อคุณแม่กลุ้มใจ ลูกน้ำหนักน้อย ตัวเล็กเกินไป ทำอย่างไรดีนะ

    คุณพ่อคุณแม่กลุ้มใจ ลูกน้ำหนักน้อย ตัวเล็กเกินไป ทำอย่างไรดีนะ

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ