X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ทำฟันประกันสังคม ไม่ต้องสำรองจ่าย 2561 ต้องทำยังไง มีเงื่อนไขอะไรบ้าง

27 Jun, 2018
ทำฟันประกันสังคม ไม่ต้องสำรองจ่าย 2561 ต้องทำยังไง มีเงื่อนไขอะไรบ้างทำฟันประกันสังคม ไม่ต้องสำรองจ่าย 2561 ต้องทำยังไง มีเงื่อนไขอะไรบ้าง

ทำฟันประกันสังคม ไม่ต้องสำรองจ่าย 2561 สำหหรับผู้ประกันตนที่ต้องการทำทันตกรรม สามารถเข้ารับบริการในสถานพยาบาลที่เข้าร่วมบริการได้ทันที

ทำฟันประกันสังคม ไม่ต้องสำรองจ่าย 2561 โดยนายแพทย์สุรเดช วลีอิทธิกุล เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน กล่าวถึงความสำเร็จของระบบทันตกรรมประกันสังคมแบบ “ไม่ต้องสำรองจ่าย” ว่า ในปี 2560 ที่ผ่านมา มียอดผู้ประกันตนใช้บริการแล้วกว่า 1,311,927.00 ครั้ง สำนักงานประกันสังคมจ่ายประโยชน์ทดแทนไปแล้ว 880,981,002.78 ล้านบาท

ปัจจุบันจึงได้เพิ่มสิทธิประโยชน์ กรณีอุดฟัน ถอนฟัน ขูดหินปูน ผ่าฟันคุด ให้แก่ผู้ประกันตน เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นแต่ไม่เกิน 900 บาท/คน/ปี จากเดิม 600 บาท/คน/ปี และมีสถานพยาบาลเอกชน และคลินิกเข้าร่วมให้บริการจำนวน 1,352 แห่ง โดยจ่ายตามอัตราค่าบริการทางการแพทย์ตามที่ประกาศคณะกรรมการการแพทย์กำหนด

โดยผู้ประกันตนสามารถสังเกตป้ายสติ๊กเกอร์ที่ระบุว่า “สถานพยาบาลแห่งนี้ให้บริการผู้ประกันตนกรณีทันตกรรมทำฟัน ไม่ต้องสำรองจ่าย” แต่อย่างใด

เงื่อนไขการใช้บริการทำฟัน

ผู้ที่ต้องการทำฟันกับสถานบริการต่างๆ ที่เข้าร่วมบริการ ต้องตรวจสอบอัตราค่าบริการของสถาบันทันตกรรมที่อ้างอิงกับกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้

  1. การถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน และผ่าตัดฟันคุด ให้ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง 900 บาท/ครั้ง/ปี
  2. กรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน ให้ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์ และค่าฟันเทียมเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น ในวงเงินไม่เกิน 1,500  บาท ภายในระยะเวลา  5  ปี นับแต่วันที่ใส่ฟันเทียมนั้น ตามหลักเกณฑ์ดังนี้
    • 1-5 ซี่ เบิกได้ไม่เกินวงเงิน 1,300 บาท
    • ตั้งแต่ 6 ซี่ ขึ้นไป เบิกได้ไม่เกินวงเงิน 1,500 บาท
  3. กรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปาก ให้ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์และค่าฟันเทียมเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็นในวงเงินไม่เกิน 4,400 บาท ภายในระยะเวลา  5  ปีนับตั้งแต่วันที่ใส่ฟันเทียมนั้น ตามหลักเกณฑ์ดังนี้
    • ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนหรือล่าง เบิกได้ไม่เกินวงเงิน 2,400  บาท
    • ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนและล่าง เบิกได้ไม่เกินวงเงิน 4,400 บาท
ทำฟันประกันสังคม ไม่ต้องสำรองจ่าย 2561

รายชื่อคลีนิคทําฟันประกันสังคม 2564 ทำฟันประกันสังคม ไม่ต้องสำรองจ่าย 2561

วิธีขอรับการบริการ

  1. กรณีเข้ารับบริการในสถานพยาบาลที่เข้าร่วมบริการ
    • เช็คสถานพยาบาลที่เข้าร่วมบริการ
    • สามารถเข้ารับบริการได้เลย โดยที่ผู้ประกันตนไม่ต้องสำรองจ่าย
  2. กรณีที่เข้ารับบริการในสถานพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมบริการ
    • ขอใบเสร็จรับเงิน ใบรับรองแพทย์ จากสถานพยาบาลที่เข้าร่วมบริการ
    • แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีทันตกรรม (สปส.2-16)
    • นำใบเสร็จรับเงิน ใบรับรองแพทย์ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรอื่นที่ทางราชการออกให้ และสำเนาสมุดบัญชีธนาคารของผู้ประกันตนหน้าแรก มายื่นเรื่องที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด/สาขา ภายใน 2 ปี นับตั้งแต่วันที่เข้ารับบริการที่ระบุไว้ในใบรับรองแพทย์
  3. กรณีขอรับเงินทางธนาคาร สามารถยื่นได้ที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ สำนักงานประกันสังคมจังหวัดและสาขาที่สะดวก (ยกเว้นสำนักงานใหญ่ในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข) โดยให้แนบสำเนาสมุดบัญชีเงินฝากประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชี 11 ธนาคาร ดังนี้
    • ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
    • ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารออมสิน (ไม่สามารถใช้งานได้เนื่องจากอยู่ในระหว่างการปรับปรุงโปรแกรม)
    • ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) (ไม่สามารถใช้งานได้เนื่องจากอยู่ในระหว่างการปรับปรุงโปรแกรม)

**หมายเหตุ: ทันตกรรมผู้ประกันตนสามารถใช้บัตรประชาชนเป็นหลักฐานเข้ารับบริการกรณีทันตกรรมกับสถานพยาบาล โดยไม่ต้องสำรองจ่ายเงิน วงเงินไม่เกิน 900 บาทต่อคนต่อปี

ที่มา: moneyguru

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

33 คำถาม : เงินประกันสังคมกรณีคลอดบุตรและเงินสงเคราะห์บุตรยื่นอย่างไรให้ได้เงิน

ประกันสังคม เพิ่มค่าฝากครรภ์ 1 พันบาท แม่ท้องต้องทำยังไง ใช้เอกสารอะไรบ้าง

บทความจากพันธมิตร
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • ทำฟันประกันสังคม ไม่ต้องสำรองจ่าย 2561 ต้องทำยังไง มีเงื่อนไขอะไรบ้าง
แชร์ :
  • สิทธิประโยชน์ กองทุนประกันสังคม ที่แม่ท้องต้องรู้

    สิทธิประโยชน์ กองทุนประกันสังคม ที่แม่ท้องต้องรู้

  • เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

    เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

app info
get app banner
  • สิทธิประโยชน์ กองทุนประกันสังคม ที่แม่ท้องต้องรู้

    สิทธิประโยชน์ กองทุนประกันสังคม ที่แม่ท้องต้องรู้

  • เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

    เล็งเพิ่มเพดานเงินเดือนสมทบ กองทุนประกันสังคม วัดจากฐานเงินเดือน ยิ่งสูงยิ่งจ่ายเยอะ

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ