X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อยากรู้ไหม สัปดาห์ที่ 1-12 ลูกน้อยในครรภ์มีขนาดใหญ่แค่ไหน?

17 Jan, 2017

ในแต่ละสัปดาห์ของการตั้งครรภ์ พัฒนาการของลูกน้อยในครรภ์นั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงและเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ นอกเหนือจากการไปอัลตร้าซาวด์เพื่อตรวจเช็กความสมบูรณ์ของลูกในท้องและเห็นหน้าค่าตากันแล้ว ลองมาเทียบขนาดของลูกในครรภ์กับผลไม้แต่ละชนิดกันหน่อยไหม ดูซิว่าสัปดาห์นี้เบบี๋ของเราตัวโตไปถึงไหนกันแล้ว

ขนาดของลูกในครรภ์-1

ขนาดของลูกในครรภ์-1

ในอีกแค่ 40 สัปดาห์ ขนาดของลูกน้อยในครรภ์คุณแม่กำลังจะเติบโตไปแต่ละสัปดาห์ เทียบได้จากเมล็ดพันธุ์เล็ก ๆ ไปจนมีขนาดเท่ากับแตงโมผลอวบ ๆ
สัปดาห์ที่ 4

สัปดาห์ที่ 4

ไข่ที่ได้รับการผสม ที่เรียกกันว่า “ตัวอ่อน” นั้น มีลักษณะคล้ายลูกบอลขนาด 32 เซล ซึ่งมีขนาดเท่ากับเมล็ดงา ในระยะนี้เซลดังกล่าวจะทำการแยกออก ซึ่งจากนี้ไปอวัยวะภายในและผิวหนังของเจ้าตัวน้อยในครรภ์ก็จะเริ่มพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ

ขนาดความยาวของทารก : ประมาณ 0.014 ถึง 0.04 นิ้ว
น้ำหนักของทารก : น้อยกว่า 0.04 ออนซ์
สัปดาห์ที่ 5

สัปดาห์ที่ 5

เซลในสัปดาห์ที่แล้วจะเริ่มปรับเปลี่ยนมีลักษณะคล้ายกับลูกอ็อด และมีขนาดใหญ่ประมาณเมล็ดพริกไทย พัฒนาการของลูกในครรภ์เริ่มมีการสร้างส่วนสมอง กระดูกสันหลัง หัวใจ และระบบการไหลเวียนของโลหิต

ขนาดความยาวของทารก : ประมาณ 0.05 นิ้ว
น้ำหนักของทารก : น้อยกว่า 0.04 ออนซ์
สัปดาห์ที่ 6

สัปดาห์ที่ 6

เจ้าตัวน้อยในครรภ์ขณะนี้มีขนาดใหญ่ขึ้นเป็น 3 เท่าและถูกปกป้องโดยน้ำคร่ำแล้ว ขนาดของลูกในครรภ์ตอนนี้เท่ากับเมล็ดทับทิม

ขนาดความยาวของทารก : ประมาณ 1/8 นิ้ว
น้ำหนักของทารก : น้อยกว่า 0.04 ออนซ์
สัปดาห์ที่ 7

สัปดาห์ที่ 7

ขนาดของลูกในครรภ์ตอนนี้เริ่มเท่ากับผลบูลเบอรรี่เล็ก ๆ แล้วล่ะ

ขนาดความยาวของทารก : ประมาณ 5 นิ้ว
น้ำหนักของทารก : น้อยกว่า 0.04 ออนซ์
สัปดาห์ที่ 8

สัปดาห์ที่ 8

ในตอนนี้ขนาดของลูกในครรภ์ประมาณถั่วแครนเบอรี่ ที่มือและเท้าเริ่มมีผังพืดของนิ้วมือและนิ้วเท้าเกิดขึ้น ซึ่งอีกไม่นานผังพืดเหล่านี้ก็จะหายไปและเผยให้เห็นนิ้วมือและนิ้วเท้าแต่ละนิ้วของลูกน้อย

ขนาดความยาวของทารก : ประมาณ 0.63 นิ้ว
น้ำหนักของทารก : น้อยกว่า 0.04 ออนซ์
สัปดาห์ที่ 9

สัปดาห์ที่ 9

ในตอนนี้ขนาดของลูกในครรภ์จะประมาณเท่ากับลูกเชอรี่ ระบบทางเดินอาหารและอวัยวะสืบพันธุ์เริ่มก่อตัวขึ้น แต่มันก็ยังคงเร็วไปที่จะบอกได้ว่าคุณได้ลูกสาวหรือลูกชายนะ

ขนาดความยาวของทารก : ประมาณ 0.9 นิ้ว
น้ำหนักของทารก : ประมาณ 0.07 ออนซ์
สัปดาห์ที่ 10

สัปดาห์ที่ 10

ในตอนนี้ขนาดของลูกในครรภ์จะประมาณผลส้มจี๊ด ดวงตาและเปลือกตาของของลูกน้อยจะมีพัฒนาการมากขึ้น รวมถึงขนคิ้วที่จะเริ่มงอกขึ้นมาแล้ว

ขนาดความยาวของทารก : ประมาณ 1.22 นิ้ว
น้ำหนักของทารก : ประมาณ 0.14 ออนซ์
สัปดาห์ที่ 11

สัปดาห์ที่ 11

ในตอนนี้ขนาดของลูกในครรภ์จะเท่ากับผลกะหล่ำปลี และจากตอนนี้ไปจนถึงสัปดาห์ที่ 20 ของการตั้งครรภ์ ลูกจะเริ่มมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอีก 30 เท่าและยาวขึ้นอีก 3 เท่า

ขนาดความยาวของทารก : ประมาณ 1.61 นิ้ว
น้ำหนักของทารก : ประมาณ 0.25 ออนซ์
สัปดาห์ที่ 12

สัปดาห์ที่ 12

ในตอนนี้ลูกน้อยมีความยาวเกือบ 3 นิ้วและมีขนาดประมาณเท่าลูกเสาวรส พัฒนาการของเล็บมือ เล็บเท้า และกระดูกต่าง ๆ จะเริ่มก่อตัวขึ้น และจะมีขนอ่อน ๆ ขึ้นปกคลุมทั่วร่างกายของลูกแล้ว

ขนาดความยาวของทารก : ประมาณ 2.13 นิ้ว
น้ำหนักของทารก : ประมาณ 0.49 ออนซ์

ติดตามดูขนาดของลูกในครรภ์แต่ละสัปดาห์ในไตรมาสที่ 2 และ 3 คลิกลิงก์ด้านล่างนะคะ
ถัดไป
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img

บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • อยากรู้ไหม สัปดาห์ที่ 1-12 ลูกน้อยในครรภ์มีขนาดใหญ่แค่ไหน?
แชร์ :
  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว