theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง

ม.33 เรารักกัน มนุษย์เงินเดือนแบบไหนที่ไม่ได้รับ 4,000

19 Feb, 2021
แชร์ :
•••
ม.33 เรารักกัน มนุษย์เงินเดือนแบบไหนที่ไม่ได้รับ 4,000

ม.33 เรารักกัน โครงการเยียวยาสำหรับ ผู้ประกันตน ประกันสังคมมาตรา33 ที่จะเปิดให้ผู้มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่โครงการกำหนด ลงทะเบียนได้ตั้งแต่ 21 กุมภาพันธ์ 2564 ผ่านทาง www.ม33เรารักกัน.com

 

ก่อนจะเริ่มลงทะเบียน “เรารักกัน” เปิดเงื่อนไขสำคัญที่ทำให้ “มนุษย์เงินเดือน มาตรา33” หมดสิทธิได้เงิน 4,000 บาทจากโครงการนี้ ดังนี้
 

คุณสมบัติผู้ได้รับสิทธิ 4,000 บาทจาก ม.33 เรารักกัน

  • มีสัญชาติไทย
  • เป็นผู้ประกันตน ประกันสังคมมาตรา 33
  • ไม่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
  • ไม่เป็นแรงงานต่างด้าว
  • ไม่มีเงินฝากจากทุกบัญชีรวมกันเกิน 500,000 บาท ณ เดือนธันวาคม 2563

 

แม้จะเป็นเป็นมนุษย์เงินเดือน อยู่ใน “ประกันสังคม มาตรา 33” และมีคุณสมบัติตามเงื่อนไขด้านบน แต่ปัจจัยสำคัญที่จะเป็นจุดเปลี่ยนที่อาจทำให้ “ไม่ได้รับสิทธิ เรารักกัน” คือผู้ที่ “เงินฝากรวม” ในทุกบัญชีรวมกันเกิน 500,000 บาท ณ เดือนธันวาคม 2563

 

เงินฝาก ที่จะนำมานับรวมในเงื่อนไขนี้ คือ 

  1. งินฝากกระแสรายวัน 
  2. เงินฝากออมทรัพย์ 
  3. เงินฝากประจำ 
  4. บัตรเงินฝาก 
  5. ใบรับฝากเงิน 
  6. ผลิตภัณฑ์เงินฝากอื่นใด ที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน 

 

เงินฝาก ดังกล่าว ไม่รวมบัญชีลักษณะดังต่อไปนี้ 

  1. บัญชีร่วม 
  2. บัญชีเพื่อ 
  3. สลากออมทรัพย์ 
  4. เงินฝากในรูปสกุลเงินตราต่างประเทศ” เท่ากับว่าคนที่เงินในบัญชีเหล่านี้ แม้มีเกิน 500,000 บาทก็ยังมีโอกาส ได้รับสิทธิ ม.33 เรารักกัน
ขั้นตอนเรารักกัน

ขั้นตอนเรารักกัน

ทั้งนี้ สามารถสะสมไว้ใช้คราวเดียวได้ ไม่จำเป็นต้องใช้หมดภายในสัปดาห์ที่ได้รับเงิน แต่ต้องใช้สิทธิ 4,000 บาทให้หมดภายใน 31 พ.ค. 64 หากไม่หมดจะถูกตัดสิทธิการใช้เงินที่เหลือทันที

 

ขั้นตอนลงทะเบียน ม.33 เรารักกันเพื่อรับ 4,000 บาท

ผู้ประกันตน ประกันสังคมมาตรา 33 โดยมีหน่วยงานผู้รับผิดชอบ คือ สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน เพื่อแบ่งเบาภาระค่าครองชีพสำหรับ “ผู้ประกันตน ม.33” จำนวนทั้งสิ้น 9,2700,000 คน

โดยเตรียมเปิดให้ผู้ประกันตน ม.33 ลงทะเบียนผ่าน www.ม33เรารักกัน.com วันที่ 21 ก.พ. รับ 4,000 บาท แบ่งจ่ายสัปดาห์ละ 1,000 บาท ผ่านแอพพลิเคชั่น “เป๋าตัง” ตั้งแต่เดือน มีนาคม – เมษายน 2564 

ข้อมูลจาก กระทรวงแรงงาน ระบุว่า

 

เริ่มลงทะเบียน “ม.33เรารักกัน” 21 ก.พ. – 7 มี.ค. 64 ดังนี้

  • 21 ก.พ. – 7 มี.ค. : เริ่มลงทะเบียน ผ่านเว็บไซต์ www.ม33เรารักกัน.com
  • 8 – 14 มี.ค. :  ธนาคารตรวจสอบข้อมูล ประมวลผลคัดกรอง
  • 15 – 21 มี.ค. :  ผู้ประกันตนมาตรา 33 “ยืนยันตัวตน” บนแอพพลิเคชัน เป๋าตัง
  • 22 มี.ค. – 12 เม.ย. :  เริ่มโอนเงินเข้าแอพฯ เป๋าตัง สัปดาห์ละ 1,000 บาท (โอนทุกวันจันทร์)
  • 22 มี.ค. – 31 พ.ค. :  ระยะเวลาการใช้จ่ายเงิน เหมือนกับโครงการเราชนะ

 

กระทรวงแรงงาน ได้เผยการดำเนินงาน ขั้นตอนการลงทะเบียนเพื่อขอรับสิทธิ และเงื่อนไขในโครงการ ม.33 เรารักกัน ดังนี้

คุณสมบัติผู้ประกันตนมาตรา 33 ที่ได้รับสิทธิ

  • ผู้รับสิทธิ ต้องมีสัญชาติไทย
  • เป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 ในระบบประกันสังคม
  • ไม่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ หรือบัตรคนจน และไม่ได้รับสิทธิโครงการเราชนะ
  • ไม่มีเงินฝากรวมกันทุกบัญชีเกิน 500,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563

 

การลงทะเบียนเพื่อขอรับสิทธิ

  • วันที่ 21 ก.พ. – 7 มี.ค. ลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์ www.ม33เรารักกัน.com
  • วันที่ 8 – 14 มี.ค. ธนาคารทำการตรวจสอบข้อมูลและประมวลผลคัดกรอง
  • วันที่ 15 – 21 มี.ค. ผู้ประกันตนตรวจสอบสถานะผู้ได้รับสิทธิ ผ่านทาง www.ม33เรารักกัน.com จากนั้นกดใช้งานและกดยืนยันตัวตนผ่านแอปพลิเคชั่นเป๋าตัง
  • วันที่ 22, 29 มี.ค. และ 5, 12 เม.ย. ได้วงเงินผ่านเป๋าตัง ครั้งละ 1,000 บาท รวมเป็น 4,000 บาท
  • วันที่ 22 มี.ค. – 31 พ.ค. 2564 ผู้ประกันตนสามารถเริ่มใช้จ่าย ซื้อสินค้า และบริการผ่านร้านค้า ผู้ประกอบการ ผู้ให้บริการ ในร้านธงฟ้าที่ใช้แอปพลิเคชั่นถุงเงิน หรือภายใต้โครงการ คนละครึ่ง และโครงการเราชนะ

 

สำหรับผู้ประกันตนมาตรา 33 ที่ตรวจสอบสิทธิแล้วไม่ได้รับสิทธิตามโครงการ ม.33 เรารักกัน สามารถขอทบทวนสิทธิผ่าน www.ม33เรารักกัน.com ดังนี้

  • วันที่ 15 – 28 มี.ค. ยื่นขอทบทวนสิทธิ ผ่านทาง www.ม33เรารักกัน.com 
  • วันที่ 29 มี.ค. – 4 เม.ย. ธนาคารทำการตรวจสอบข้อมูล รวมทั้งประมวลผลคัดกรอง
  • วันที่ 5 – 11 เม.ย. ตรวจสอบสถานะผู้ได้รับสิทธิอีกครั้ง ผ่านทาง www.ม33เรารักกัน.com เมื่อได้รับสิทธิแล้ว กดใช้งานและกดยืนยันตัวตนผ่านแอปพลิเคชัน เป๋าตัง
  • วันที่ 12 และ 19 เม.ย. ได้รับวงเงินผ่านเป๋าตัง ครั้งละ 2,000 บาท รวมเป็น 4,000 บาท
  • วันที่ 12 เม.ย.- 31 พ.ค. เริ่มใช้จ่าย ซื้อสินค้าและบริการผ่านร้านค้า ผู้ประกอบการ ผู้ให้บริการ ในร้านธงฟ้าที่ใช้แอปพลิเคชันถุงเงิน หรือโครงการคนละครึ่ง และโครงการเราชนะ
ขั้นตอนการลงทะเบียนและทบทวนสิทธิ

ขั้นตอนการลงทะเบียนและทบทวนสิทธิ

 

ที่มา : www.bangkokbiznews.com

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ :

ลงทะเบียน ม.33 เรารักกัน เตรียมเปิดรับสิทธิ์เงิน 4,000 บาท เริ่ม 21 ก.พ.นี้

โครงการเราชนะ เปิดความหมาย กลุ่มประกันสังคมมาตรา 33 คือใครบ้าง

คลังแจง 10 เรื่องต้องรู้ที่เกี่ยวกับ เกณฑ์การเข้าร่วมโครงการเราชนะ 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

บทความโดย

@GIM

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • ม.33 เรารักกัน มนุษย์เงินเดือนแบบไหนที่ไม่ได้รับ 4,000
แชร์ :
•••
เมื่อลูกป่วย ในวันที่พ่อแม่ ขาดรายได้  อย่าปล่อยให้ ' เรื่องค่าใช้จ่าย มาเป็นข้อจํากัด
มีบัตรเครดิต หรือไม่ *
  • มนุษย์เงินเดือนอาจมีเฮ! หากปรับลดหย่อนภาษีแบบนี้จริง!

    มนุษย์เงินเดือนอาจมีเฮ! หากปรับลดหย่อนภาษีแบบนี้จริง!

  • เริ่มแล้ว! โครงการ คูปองแทนใจ ให้ผู้ประกันตน มูลค่ากว่า 2,000 บาท

    เริ่มแล้ว! โครงการ คูปองแทนใจ ให้ผู้ประกันตน มูลค่ากว่า 2,000 บาท

  • 50 คําคมวันคริสต์มาส แคปชั่นคริสต์มาส ลงรูปอวด Social ได้อย่างปัง!

    50 คําคมวันคริสต์มาส แคปชั่นคริสต์มาส ลงรูปอวด Social ได้อย่างปัง!

  • คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

    คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

app info
get app banner
เมื่อลูกป่วย ในวันที่พ่อแม่ ขาดรายได้  อย่าปล่อยให้ ' เรื่องค่าใช้จ่าย มาเป็นข้อจํากัด
มีบัตรเครดิต หรือไม่ *
  • มนุษย์เงินเดือนอาจมีเฮ! หากปรับลดหย่อนภาษีแบบนี้จริง!

    มนุษย์เงินเดือนอาจมีเฮ! หากปรับลดหย่อนภาษีแบบนี้จริง!

  • เริ่มแล้ว! โครงการ คูปองแทนใจ ให้ผู้ประกันตน มูลค่ากว่า 2,000 บาท

    เริ่มแล้ว! โครงการ คูปองแทนใจ ให้ผู้ประกันตน มูลค่ากว่า 2,000 บาท

  • 50 คําคมวันคริสต์มาส แคปชั่นคริสต์มาส ลงรูปอวด Social ได้อย่างปัง!

    50 คําคมวันคริสต์มาส แคปชั่นคริสต์มาส ลงรูปอวด Social ได้อย่างปัง!

  • คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

    คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
  • สังคมออนไลน์
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
  • สุขภาพ

ดาวน์โหลดแอปของเรา

google play store
Appstore
  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
เปิดในแอป