X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

6 โรคร้ายที่ทำคนไทยตายสูงสุด

บทความ 5 นาที
6 โรคร้ายที่ทำคนไทยตายสูงสุด6 โรคร้ายที่ทำคนไทยตายสูงสุด

6 โรคร้ายที่ทำคนไทยตายสูงสุด โรคร้ายที่ทำคนไทยตายสูงสุด โรคไหนบ้างไปดูกันเลย 

6 โรคร้ายที่ทำคนไทยตายสูงสุด

โรคร้ายที่ทำคนไทยตายสูงสุด โรคไหนบ้างไปดูกันเลย

โรคร้ายที่ทำคนไทยตายสูงสุด

 

อันดับ 1 # มะเร็ง

อันดับ 1 ของมะเร็งคือ มะเร็งตับ รองลงมาคือมะเร็งลำไส้ใหญ่และปอด ( อ้างอิงจากผลวิจัยปี 2546 ) ซึ่งโรคเหล่านี้ ล้วนแล้วแต่เป็นโรคจากการใช้ชีวิตประจำวันแบบผิด ๆ ของคนในยุคสมัยใหม่ไม่ว่าจะเป็นมะเร็งชนิดใด มะเร็งลำไส้, มะเร็งมดลูก หรือมะเร็งเต้านม ก็ล้วนแล้วแต่คร่าชีวิตคนไทยมาแล้วนักต่อนัก สถิติการเป็นมะเร็งของคนไทยนั้นเพิ่มสูงขึ้นถึง 70,000 คน และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ  มะเร็งยังครองแชมป์การเป็นโรคที่มีคนเป็นมากที่สุดในประเทศ อันดับที่ 1 ถึง 5 ปีซ้อน และมีผู้เสียชีวิตไปด้วยโรคนี้ถึงปีละ 50,000 คนอีกด้วย

อันดับ 2 # โรคหลอดเลือดหัวใจ

โรคที่คนไทยนิยมเป็นกันไม่แพ้มะเร็ง เพราะด้วยนิสัยการทานอาหารที่มีไขมันสูง ไม่ยอมออกกำลังกาย เป็นโดยพันธุกรรมและยังเป็นอีก 1 โรคแทรกซ้อนของผู้ที่เป็นเบาหวาน เกิดจากการที่ไขมันไปจับ หรือเกาะผนังของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ จนเลือดไม่อาจถูกส่งไปเลี้ยงหัวใจได้ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือด ส่งผลให้หัวใจยุดเต้นอย่างเฉียบพลัน และเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว

อันดับ 3  #โรคเบาหวาน

เบาหวานเป็นอีกโรคที่เป็นสาเหตุของการเป็นโรคที่ทำให้คนไทยเสียชีวิต เกิดจากการที่ร่างกายสร้างฮอร์โมนอินซูลินมามากทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ ร่างกายจึงไม่สามารถใช้น้ำตาลได้อย่างเหมาะสม และตับอ่อนทำงานได้อย่างไม่เต็มที่ จนไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้งานได้ หรือใช้งานได้น้อย จนทำให้น้ำตาลค้างอยู่ในเลือดสูง การรักษาโรคนี้ มีทั้งการฉีดอินซูลินเข้าไป เพื่อกระตุ้นให้ตับอ่อนสร้างอินซูลิน และการดูแลชีวิต ที่ต้องควบคุมอาหารที่มีไขมัน และน้ำตาลสูง, ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอควรเช็คน้ำตาลในเลือดทุกวัน, งดอาหารเค็ม และพบแพทย์ตามนัดเสมอ

อันดับ 4 # โรคความดันโลหิตสูง

โรคภาวะความดันโลหิตสูง โดยมีความดันสูงถึง 140/90 มิลลิเมตร - ปรอท ขึ้นไป โดยที่ความดันของคนปกติจะอยู่ที่ 90 - 119/60 - 79 มิลลิเมตร - ปรอท

แบ่งออกเป็น 2 ชนิด

  • ชนิดแบบที่ไม่ทราบสาเหตุ   ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร พบได้สูงถึง 90 - 95% ของผู้ป่วยโรคนี้ เชื่อว่าน่าจะเกิดจากหลายปัจจัยร่วมกันของเอ็นไซม์ ฮอร์โมน และต่อมต่าง ๆ ที่ต้องควบคุมความดันในร่างกาย ทำงานไม่สอดคล้องกัน หรือผิดปกติไป ไม่ก็อาจจะเกิดจากพันธุกรรม, เชื้อชาติ, การทานอาหารที่มีรสเค็ม และสมดุลของเกลือแร่ แคลเซียมทำงานไม่สมดุลกัน
  • ชนิดแบบทราบสาเหตุ พบแค่ 5 - 10% ของผู้ป่วย เกิดจากโรคต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อหลอดเลือด ต่อหัวใจ และสมดุลของฮอร์โมนในร่างกาย ที่พบบ่อยคือ โรคไตเรื้อรังจากการติดสุรา, เนื้องอกที่ต่อมหมวกไต และเนื้องอกในสมอง นอกจากนี้ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน, โรคอ้วน หรือแม้แต่การทายาสเตียรอยด์บางชนิด ก็สามารถทำให้เป็นโรคนี้เช่นกัน

ถ้ามีอาการมึนหัว วิงเวียนศีรษะ สับสน เจ็บหน้าอก ใจสั่น เหงื่ออกมาก และปวดศีรษะมาก ให้รีบไปพบแพทย์ทันที เพราะนั่นอาจเป็นอาการเริ่มต้น ของโรคความดันโลหิตสูงได้ ควรจำกัดแป้ง น้ำตาล ไขมัน และอาหารเค็ม ออกกำลังกาย ลดความเครียดลง ไม่สูบบุหรี่ เลิกสุรา และรีบพบแพทย์ทันที่เมื่อมีอาการ

อันดับ 5 # วัณโรคที่มากับอากาศ

เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชื่อว่า มายโคแบคทีเรียม ทูเบอร์คูโลสิส (Mycobacterium tuberculosis) ซึ่งมีแนวโน้มของผู้ป่วยรายใหม่ เพิ่มสูงขึ้นถึงปีละ 70% อาการของผู้ที่เป็นวัณโรคจะไอแห้ง ติดต่อกันเกิน 3 สัปดาห์ และมีเลือดปนออกมาด้วย นอกจากนี้ ในบางรายอาจมีอาการอ่อนเพลีย หรือไข้ร่วมด้วย แต่ผู้ที่เป็นระยะแรก ๆ มักจะไม่ค่อยแสดงอาการมากนัก เบื่ออาหาร น้ำหนักลดมาก แน่นและเจ็บหน้าอกทุกครั้งที่ไอ ถ้าต้องอยู่ร่วมกับผู้ป่วยโรคนี้ ก็ให้จัดสถานที่ให้โล่งโปร่ง อากาศถ่ายเทสะดวก ไม่คลุกคลีหรือสัมผัสผู้ป่วยโดยตรง  การรักษาระยะแรกผู้ป่วยต้องไปรับยาอย่างสม่ำเสมอติดต่อกัน 6 เดือน อาการก็จะดีขึ้นจนอาจหายป่วยได้ แต่ถ้าไม่รับยาตามนัด จะก่อให้เกิดเชื้อดื้อยา และต้องทานยาใหม่ที่มีราคาสูงขึ้น และใช้เวลาถึง 18 เดือนในการรักษา เพราะฉะนั้นจึงควรที่จะไปรับการรักษา ตั้งแต่ต้นที่ตรวจพบ และทานยาตลอดจนอาการดีขึ้น

อันดับ 6 # โรคปอดเรื้อรัง

เกิดจากการสูบบุหรี่ การหายใจเอาละอองสารเคมีเข้าไปนาน ๆ จนเกิดการสะสม มลภาวะในอากาศ และโรคทางพันธุกรรมบางชนิด ก็ทำให้เกิดโรคนี้ได้ แต่โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะมาจากผู้ที่สูบบุหรี่ เพราะสารพิษในควันบุหรี่จะเข้าไปทำลายเนื้อปอด และหลอดลม ซึ่งในยุคปัจจุบัน คนนิยมสูบบุหรี่กันเยอะขึ้นโรคปอดเรื้อรังสามารถกลายเป็นโรคถุงลมโป่งพอง ที่เกิดจากเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดต่าง ๆ เข้ามาอยู่ในชั้นเยื่อบุ และชั้นใต้เยื่อบุมากขึ้น ต่อมผลิตเมือกที่อยู่ใต้ชั้นเยื่อบุจะมีขนาดใหญ่ขึ้น และผลิตเมือกเข้าสู่หลอดลม จนทำให้เซลล์ที่ทำหน้าที่กวัดกวาดสิ่งสกปรกโดนเมือกเคลือบ แล้วนำพาเอาเมือกจากจุดอื่น ๆ เข้าสู่หลอดลมอย่างล้นหลาม และถุงลมก็จะถูกทำลายจนหายไป

ที่มา

บทความเกี่ยวข้อง

เตือนโรคร้ายที่มากับหน้าหนาว แม่ๆ รีบดูแลลูกด่วน! 

โรคแทรกซ้อนแม่ท้องต้องระวัง 10 โรคอันตรายที่คุณหมอพบบ่อย  

บทความจากพันธมิตร
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ  ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน
อัปเดต แอปพลิเคชันดูแลสุขภาพ ALive Powered by AIA ใคร ๆ ก็มีไว้ในสมาร์ตโฟน
5 เคล็ดลับการเลือก รถยนต์อเนกประสงค์สำหรับครอบครัว ปลอดภัย พร้อมไปทุกที่ได้อย่างมั่นใจ
5 เคล็ดลับการเลือก รถยนต์อเนกประสงค์สำหรับครอบครัว ปลอดภัย พร้อมไปทุกที่ได้อย่างมั่นใจ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
เนรมิตทริปฮ่องกงสุดปัง ปักหมุดจุดหมายยอดฮิต เช็กอินร้านอาหาร พร้อมทิปส์น่ารู้มากมายสไตล์คนท้องถิ่น
เนรมิตทริปฮ่องกงสุดปัง ปักหมุดจุดหมายยอดฮิต เช็กอินร้านอาหาร พร้อมทิปส์น่ารู้มากมายสไตล์คนท้องถิ่น

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Weerati

  • หน้าแรก
  • /
  • ไลฟ์สไตล์
  • /
  • 6 โรคร้ายที่ทำคนไทยตายสูงสุด
แชร์ :
  • แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

    แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

  • เลือดล้างหน้าเด็ก คืออะไร คุณแม่มีเลือดล้างหน้าเด็ก เป็นสัญญาณบ่งบอกอะไร

    เลือดล้างหน้าเด็ก คืออะไร คุณแม่มีเลือดล้างหน้าเด็ก เป็นสัญญาณบ่งบอกอะไร

app info
get app banner
  • แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

    แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

  • เลือดล้างหน้าเด็ก คืออะไร คุณแม่มีเลือดล้างหน้าเด็ก เป็นสัญญาณบ่งบอกอะไร

    เลือดล้างหน้าเด็ก คืออะไร คุณแม่มีเลือดล้างหน้าเด็ก เป็นสัญญาณบ่งบอกอะไร

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ