ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด เพราะเด็กๆ ที่รีบออกมาดูโลกใหม่นั้น น้ำหนักไม่เท่ากับเด็กที่คลอดออกมาตอนครบกำหนด การติดตามน้ำหนักจึงต่างกัน

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด เด็กที่คลอดก่อนกำหนดนั้น หมายถึง คุณเเม่ที่คลอดก่อนสัปดาห์ที่ 37 เเน่นอนว่า ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์ สำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด เมื่อเทียบกับเด็กที่คลอดเต็มกำหนด ต่างกันค่ะ ดังนั้น น้ำหนักที่ขึ้นตามเกณฑ์ย่อมไม่เท่ากันเช่นกัน

 

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด-01

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด-01

 

เนื่องจาก เด็กที่คลอดครบกำหนด จะมีน้ำหนักเเรกเกิดอยู่ที่  2500 – 3000 กรัม  หรือ ประมาณ 3 กิโลกรัม เเต่ในเด็กเเรกเกิด ที่คลอดก่อนกำหนดนั้น มีน้ำหนักน้อยกว่า เเละ เเตกต่างกันออกไปค่ะ  สามารถตรวจสอบได้จาก ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด

 

 

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด

ตารางน้ำหนัก-02

ตารางน้ำหนัก-02

  • เด็กที่คลอดก่อนกำหนด น้ำหนัก จะเพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อย ไม่กี่วันหลังคลอด
  • ถ้าลูกคลอดก่อนกำหนดมาก ๆ ตัวเล็กมาก ๆ น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นอาจจะเเค่ วันละ  5 กรัมเท่านั้น เเต่ถ้าหากลูกตัวใหญ่พอ ๆ กับเด็กที่ครบกำหนด น้ำหนักอาจจะเพิ่มขึ้น ได้มากถึง 20 กรัมต่อวัน
  • ขึ้นอยู่กับ เเต่ละโรงพยาบาล ตารางน้ำหนักนี้ เป็นเพียงเเค่คำแนะนำเบื้องต้นเท่านั้นค่ะ คุณหมอ หรือ เเต่ละโรงพยาบาล อาจจะมีเกณฑ์มาตรฐาน ที่เเตกต่างไป จากนี้ได้เช่นกัน โดยส่วนใหญ่เเล้วเด็ก ๆ ที่คลอดก่อนกำหนดนั้น คุณหมอจะตรวจให้เเน่ใจว่า ไม่มีปัญหาสุขภาพใด ๆ ที่เกิดขึ้น น้ำหนักขึ้นปกติ ก่อนที่จะให้คุณเเม่พาลูกกลับบ้านได้
ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด

ตารางน้ำหนักตามเกณฑ์สำหรับ เด็กคลอดก่อนกำหนด

การเพิ่มน้ำหนัก ของเด็กคลอดก่อนกำหนด

  1. การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดํา หรือ Intravenous (IV) Lines เนื่องจาก เด็กที่คลอดก่อนกำหนดบางคน ยังไม่สามารถที่จะดูดนมเเม่ เเละ กลืนด้วยตัวเองได้ วิธีนี้ จึงเป็นวิธี ที่ลูกจะได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วนค่ะ
  2. การให้สารอาหารทางสะดือ หรือ Umbilical Catheter แม้วิธีนี้จะไม่ทำให้ลูก ได้รับความเจ็บปวด เเต่ก็มีความเสี่ยงอยู่บ้าง เนื่องจากอาจการให้สารอาหารด้วยวิธีนี้ จะทำให้อุดตันในเลือด และ ติดเชื้อในขณะที่อยู่ในสายสวนสะดือได้
  3. การให้สารอาหารทางจมูกหรือปาก หรือ Oral And Nasal Feeding จะให้อาหารวิธีนี้ ก็ต่อเมื่อลูกสามารถดูด  เเละ กลืนเองได้เเล้ว
  4. การให้อาหารทางสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง หรือ Central Line หรือ การให้สารอาหาร ผ่านทางสายน้ำเกลือ บริเวณหลังมือนั่นเองค่ะ

ที่มา Momjunction

 

บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

มหัศจรรย์การกอด ช่วยชีวิตทารกคลอดก่อนกำหนด

11 ปัญหาสุขภาพ ที่เด็กคลอดก่อนกำหนดต้องเจอ

             ลงทะเบียน รับการดูแลตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ กับ the Asianparent Thailand ตั้งแต่ช่วงไตรมาสแรก มาติดตามพัฒนาการของลูก อย่างใกล้ชิด ว่าลูกโตขึ้นแค่ไหนกันนะ ไตรมาสที่ 2  มาฟังเสียงลูกน้อย นับว่าหนึ่งวันลูกดื่นไหมนะ และ ลูกตื่นวันละกี่ครั้ง ด้วยแอพพลิเคชั่น the Asianparent Thailand  นี่เป็นแค่ตัวอย่างกิจกรรม บนแอพพลิเคชั่น ในส่วนแรก เพราะคุณแม่ จะได้รับการดูแล ทั้งอาหาร การกิน โดยการออกแบบ จากผู้เชี่ยวชาญ ว่าควรทานอะไรบ้าง ในแต่ช่วงอายุครรภ์ ยาที่เป็นอันตราย ชนิดไหนบ้าง ที่ไม่ควรทาน กิจกรรมใดบ้าง ที่ทำได้ หรือ ทำไม่ได้ เคล็ดลับการตั้งชื่อลูกอย่างไร ให้เป็นมงคลทั้ง เด็กหญิง และ เด็กชาย รวมถึงเตรียมแผนการล่วงหน้า ถึงอนาคต การเตรียมคลอด การดูแลตนเองหลังคลอด ที่ครอบคลุมทุกช่วงเวลา ที่คุณแม่ต้องการ 

           the Asianparent Thailand เว็บไซต์ และ คอมมูนิตี้อันดับหนึ่งที่คุณแม่เลือก นอกจากสาระความรู้ ที่เรามอบให้คุณแม่ ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ การวางแผนมีลูกแล้ว เรายังมีแอพพลิเคชั่นรวมถึงสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ที่ช่วยตอบโจทย์ทุกความต้องการของคุณแม่ยุคใหม่ ที่ต้องทำงาน และ ดูแลลูกไปพร้อมกัน ให้มีความมั่นใจ และ พร้อมในการดูแลลูกทุกช่วงเวลา ตั้งแต่การให้นมบุตร การดูแลตนเองหลังคลอด ท่าออกกำลังกายหลังคลอดเพื่อให้หุ่นของแม่หลังคลอดกลับมาฟิตแอนเฟิร์มอีกครั้ง  the Asianparent Thailand ขอเป็นส่วนหนึ่งที่จะสนับสนุนคุณพ่อคุณแม่ในเรื่องการดูแลลูก ความรู้แม่และเด็กที่เต็มเปี่ยม และตอบทุกข้อสงสัยในแอพพลิเคชั่นที่เป็นสื่อกลาง และกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวไทย

 

 

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!