กิจกรรมเสริมพัฒนาการเด็ก วัย 6-18 เดือน
มหาวิทยาลัยฮาวา
องค์ประกอบของ EF มีอะไรบ้าง
- ความจำใช้งาน (Working Memory): เด็กจะเชื่อมโยงความเข้าใจไ
ด้เร็ว อ่านเร็ว เขียนเร็ว - การรู้จักยับยั้งชั่งใจ (Inhibitory Control): เด็กจะรู้จักยับยั้งชั่งใจก
ับสิ่งเร้าต่างๆ - การยืดหยุ่นในการคิด (Shift / Cognitive Flexibility): เด็กจะสามารถเปลี่ยนกรอบ และพลิกแพลงความคิดได้
- การมีสมาธิจดจ่อ (Focus /
Attention): เด็กจะสามารถมีสมาธิกับการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งได้อย่า งมีประสิทธิภาพ - การควบคุมอารมณ์ (Emotional Control): เด็กจะสามารถควบคุมอารมณ์โก
รธ ผิดหวัง เสียใจ ต่างๆ ได้ดี - การวางแผนและจัดการ (Planning & Organizing): เด็กจะสามารถจัดลำดับความสำ
คัญของงานได้ รู้จักวางแผน เตรียมการล่วงหน้าต่างๆ - การรู้จักประเมินตนเอง (Self-Monitoring): เด็กจะสามารถฉุกคิด ประเมิน และปรับปรุงตนเองได้
- การรู้จักริเริ่ม (Initiating): เด็กจะมีลูกฮึด สามารถกระตุ้นตนเองให้ทำหน้
าที่ แม้ว่าจะรู้สึกว่าไม่อยากทำ ก็ตาม ไม่มีนิสัยผัดวันประกันพรุ่ ง - การพากเพียรมุ่งสู่เป้าหมาย
(Goal-Directed Persistence): เด็กจะมีความสามารถในการกำหนดเป้าหมาย และมุ่งมั่นต่อเป้าหมายนั้น โดยไม่วอกแวก พร้อมกับเห็นคุณค่าของความพ ยายาม ไม่ย่อท้อ ล้มเหลวไม่ล้มเลิก พร้อมที่จะแก้ไข คิดใหม่ และพยายามใหม่ โดยมีเป้าหมายที่แน่วแน่
พ่อแม่ควรเล่นกับลูกอย่างไร เพื่อพัฒนา EF
1. เล่นจ๊ะเอ๋
เป็นเกมที่ฝึกให้เด็กเริ่มต
2. ร้องเพลงที่มีเนื้อเพลงส
เช่น เพลงช้าง เพลงแมงมุม และเพลงเด็กไทยอื่นๆ ซึ่งคุณพ่อคุณแม่อาจจะเน้นเสียงหรือออกท่าทางเพิ่ม(เล่นใหญ่) ลูกจะได้สนุกมากขึ้นค่ะ เพราะการร้องเพลงซ้ำไปซ้ำมาจะช่วยในการพัฒนาความจำในการใช้งานได้ดี
3. เล่นซ่อนหา
- เล่นซ่อนของ โดยพ่อแม่อาจหาของไปซ่อนไว้ใต้ผ้าห่ม แล้วให้ลูกน้อยหาว่าของเล่นอยู
่ที่ไหน หรือจะเอาของไปซ่อนที่อื่นก็ได้ - เล่นซ่อนแอบ โดยสลับกันซ่อน สลับกันหา เกมนี้จะช่วยพัฒนาความคิดของเด็กได้ด
ีมากๆ แถมยังช่วยให้หนูน้อยฝึกการพลิกแพลงอีกด้วยค่ะ เพราะเด็กจะเด็กจะค่อยๆ หาร่องรอย แกะรอยจนเจอคุณพ่อคุณแม่นั่นเอง - เอาวัตถุไปซ่อนไว้ในแก้ว วิธีการคือคุณหาแก้วมาสัก 3-4 ใบที่เหมือนๆ กัน แล้วก็สลับแก้วน้ำไปมา แล้วถามลูกวางวัตถุอยู่ในแก้วใบไหน
4. ทำท่าทางให้ลูกเลียนแบบ
การสอนให้เด็กทำท่าตามผู้ให
5. พาเล่นบทบาทสมมติ
การเล่นบทบาทสมมติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำกับข้าว เป็นคุณหมอหรือเป็นวิศวกรนั้น จะช่วยพัฒนาทักษะภาษาของเด็ก
6. ร้องเพลง
การร้องเพลง พร้อมกับขยับมือ และนิ้วมือต่างๆ เป็นกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาทักษ
7. พูดกับลูก
- สำหรับเด็กเล็กๆ ที่ยังพูดไม่ได้ คุณพ่อคุณแม่อาจจะหยิบจับเอ
าสิ่งของรอบตัวเด็กๆ ที่เด็กเห็นอยู่ทุกวัน และเรียกชื่อสิ่งของเหล่านั ้นให้เด็กฟังครับ ซึ่งกิจกรรมนี้มีเป้าประสงค ์คือ การฝึกให้เด็กมีสมาธิจดจ่อ กับสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่กำลั งบอกให้เขาฟัง - สำหรับเด็กที่โตขึ้นมาหน่อย
สัก 12-18 เดือน คุณพ่อคุณแม่อาจจะใช้การชี้ไปที่สิ่งของต่างๆ และเรียกชื่อสิ่งของเหล่านั้นให้เด็กฟัง ซึ่งนอกจากจะทำให้เด็กพัฒนา สมาธิจดจ่อแล้ว ยังเป็นการพัฒนาทักษะภาษา และความจำใช้งานอีกด้วย - สอนลูกพูด 2 ภาษา นอกจากภาษาแม่พ่อแม่ควรสอนลูกเป็นภาษาอื่นด้วย เนื่องขากมีงานวิจัยยืนยันว่า เด็กที่มีความเข้าใจ 2 ภาษา จะมี EF ที่สูงกว่า เด็กที่มีความเข้าใจเพียงแค
่ภาษาแม่เพียงภาษาเดียวนะ
ที่มา: Education Facet
บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:
วิธีเลือกของเล่นให้ลูกแต่ละช่วงวัย ซื้อแบบไหนช่วยเสริมพัฒนาการลูกน้อยมากที่สุด
เกมคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กเล็ก พร้อมวิธีการเล่นอย่างง่าย ใครๆ ก็สอนลูกได้!
ควรให้ลูกควรเข้าโรงเรียนตอนกี่ขวบ ให้ลูกเข้าเรียนเตรียมอนุบาลเลยดีไหม