ทำไม การสอนลูกเรื่องเงิน ถึงเป็นเรื่องจำเป็น

การสอนลูกเรื่องเงิน คืออะไร และแตกต่างกันยังไงในแต่ละวัฒนธรรมในประเทศแถบเอเชีย

Loading...
You got lucky! We have no ad to show to you!
ติดต่อโฆษณา

จากผลสำรวจเกี่ยวกับ การสอนลูกเรื่องเงิน ในเอเชีย ของ อีสต์สปริง นี่คือการเข้าไปดูข้อมูลทางสถิติแบบคร่าว ๆ ลองทำแบบทดสอบเรื่องรูปแบบการสอนลูกเรื่องเงินเลย เพื่อดูว่าคุณเป็นแบบไหน และคุณอยู่ตรงจุดไหนเมื่อเทียบกับผลสำรวจ

 

ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ การสอนลูกเรื่องเงิน 

1. คำนิยาม

การสอนลูกเรื่องเงิน คือกระบวนการให้ความรู้แก่ลูก ในเรื่องหน้าที่ความรับผิดชอบทางสังคมและทางการเงินที่มาพร้อมกับเงิน

 

2. ช่วงอายุที่เด็กในเอเชียเริ่มเรียนรู้เกี่ยวกับเงิน

 

3. พ่อแม่ผู้ปกครองจำนวน 59% คิดว่าเป็นหน้าที่ของทั้งพ่อและแม่ในการสอนลูกเรื่องเงิน

4. แต่อีก 51% ของพ่อแม่ผู้ปกครองในเอเชียส่วนใหญ่ ไม่รู้ว่าประสบความสำเร็จในการสอนลูกเรื่องเงินหรือเปล่า?

 

Loading...
You got lucky! We have no ad to show to you!
ติดต่อโฆษณา

5. พ่อแม่ความเชื่อมั่นในการสอนลูกเรื่องเงินมีระดับที่แตกต่างกันไป…

6. 4 เป้าหมายเรื่องเงินที่กลุ่มพ่อแม่ชาวเอเชียต้องการเห็นลูกๆ ทำสำเร็จ

แล้วเด็ก ๆ สามารถเรียนรู้เรื่องเงินอย่างไร?

1. ผ่านประสบการณ์ โดยมีคำแนะนำและการชี้แนะเล็กน้อย

Loading...
You got lucky! We have no ad to show to you!
ติดต่อโฆษณา

2. เรียนรู้จากบัญชีเงินออมที่พ่อแม่ผู้ปกครองเปิดไว้ให้

3. เรียนรู้จากกล่องออมเงิน

นอกจากนี้ ลูกยังเรียนรู้เรื่องเงินได้ดีจากการเลียนแบบพ่อแม่ผู้ปกครองได้อีกด้วย

 

Loading...
You got lucky! We have no ad to show to you!
ติดต่อโฆษณา

พ่อแม่ผู้ปกครองช่วยให้ลูกเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องเงินได้อย่างไรบ้าง?

การรู้ว่าตนเองสอนลูกเรื่องเงินในรูปแบบไหน จะช่วยให้ผลลัพธ์การสอนออกมาดีที่สุด

ซึ่ง วิธีการสอนลูกเรื่องเงิน ของพ่อแม่ผู้ปกครองทั้ง 5 รูปแบบ มีดังนี้

1. นักสำรวจ (EXPLORER) มักสอนว่า ลูกควรเรียนรู้ผ่านประสบการณ์

2. ผู้พิทักษ์ (PRESERVER) มักสอนว่า อยากให้ลูกรับผิดชอบตนเอง

3. ผู้สั่งสอน (NURTURER) มักสอนว่า ลูกควรจะสร้างค่านิยมเกี่ยวกับเงินที่ดี

4. ผู้มุ่งมั่น (GOGETTER) มักสอนว่า ฉันจะสอนลูกเรื่องการจัดการเงินอย่างใกล้ชิด

Loading...
You got lucky! We have no ad to show to you!
ติดต่อโฆษณา

5. ผู้รักสมดุล (BALANCER) มักสอนว่า เงินเป็นสิ่งสำคัญ แต่ก็มีอย่างอื่นที่สำคัญเช่นเดียวกัน

 

 

 

บทความโดย

theAsianparent Editorial Team