X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ตารางน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์ ที่จะบอกว่าลูกในท้องแข็งแรงดีแค่ไหน

บทความ 8 นาที
ตารางน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์ ที่จะบอกว่าลูกในท้องแข็งแรงดีแค่ไหน

ในแต่ละสัปดาห์ของการตั้งครรภ์ ลูกในท้องควรมีน้ำหนักและขนาดเท่าไหร่ มีวิธีใดที่จะทำให้แม่ท้องได้ทราบขนาดและน้ำหนักของทารกในครรภ์บ้าง

ทารกในครรภ์แต่ละคนนั้น อาจจะมีขนาดและน้ำหนักที่แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการด้วยกัน วันนี้เรามี ตารางน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์ โดยเฉลี่ย ตลอด 9 เดือนในท้องแม่ โดยเริ่มตั้งแต่สัปดาห์ที่ 9 ของการตั้งครรภ์เป็นต้นไป น้ํา หนัก ลูก ใน ครรภ์ 8 เดือน เพราะเป็นช่วงเวลาที่ผลการตั้งครรภ์ชัดเจนมากกว่าในช่วงแรกนั่นเอง

 

ตารางน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์ ในแต่ละสัปดาห์

เรามีตารางน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์ มาบอก ว่าในแต่ละสัปดาห์ เป็นอย่างไรบ้างว่าลูกของเราเเข็งเเรงดีไหม และจะต้องดูอย่างไร

  • ตารงน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์
  • น้ำหนักทารกในครรภ์ จะทราบได้อย่างไร
  • ดูจากน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นของคุณแม่
  • วัดความสูงยอดมดลูก
  • อัลตร้าซาวด์

มาดูรายละเอียดของตารางน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์ เพิ่มเติมได้ที่นี้ เลื่อนลงมาเลย

 

ตารางน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์

อายุครรภ์ ความยาว น้ำหนัก
สัปดาห์ที่ 1 – –
สัปดาห์ที่ 2 – –
สัปดาห์ที่ 3 – –
สัปดาห์ที่ 4 – –
สัปดาห์ที่ 5 – –
สัปดาห์ที่ 6 – –
สัปดาห์ที่ 7 – –
สัปดาห์ที่ 8 – –
สัปดาห์ที่ 9 2.0 ซ.ม. 5 กรัม
สัปดาห์ที่ 10 2.5 ซ.ม. 7 กรัม
สัปดาห์ที่ 11 3.8 ซ.ม. 10 กรัม
สัปดาห์ที่ 12 5.0 ซ.ม. 15 กรัม
สัปดาห์ที่ 13 7.6 ซ.ม. 28 กรัม
สัปดาห์ที่ 14 8.8 ซ.ม. 42 กรัม
สัปดาห์ที่ 15 10.1 ซ.ม. 70 กรัม
สัปดาห์ที่ 16 11.4 ซ.ม. 100 กรัม
สัปดาห์ที่ 17 12.7 ซ.ม. 140 กรัม
สัปดาห์ที่ 18 14.0 ซ.ม. 190 กรัม
สัปดาห์ที่ 19 15.2 ซ.ม. 240 กรัม
สัปดาห์ที่ 20 16.5 ซ.ม. 297 กรัม
สัปดาห์ที่ 21 26.6 ซ.ม. 340 กรัม
สัปดาห์ที่ 22 27.7 ซ.ม. 355 กรัม
สัปดาห์ที่ 23 27.9 ซ.ม. 370 กรัม
สัปดาห์ที่ 24 28.0 ซ.ม. 450 กรัม
สัปดาห์ที่ 25 34.2 ซ.ม. 680 กรัม
สัปดาห์ที่ 26 35.5 ซ.ม. 755 กรัม
สัปดาห์ที่ 27 36.5 ซ.ม. 900 กรัม
สัปดาห์ที่ 28 37.3 ซ.ม. 1,020 กรัม
สัปดาห์ที่ 29 38.1 ซ.ม. 1,133 กรัม
สัปดาห์ที่ 30 39.8 ซ.ม. 1,360 กรัม
สัปดาห์ที่ 31 41.0 ซ.ม. 1,511 กรัม
สัปดาห์ที่ 32 42.4 ซ.ม. 1,700 กรัม
สัปดาห์ที่ 33 43.1 ซ.ม. 1,814 กรัม
สัปดาห์ที่ 34 45.0 ซ.ม. 2,154 กรัม
สัปดาห์ที่ 35 45.7 ซ.ม. 2,381 กรัม
สัปดาห์ที่ 36 47.0 ซ.ม. 2,721 กรัม
สัปดาห์ที่ 37 48.2 ซ.ม. 2,872 กรัม
สัปดาห์ที่ 38 49.5 ซ.ม. 3,084 กรัม
สัปดาห์ที่ 39 50.8 ซ.ม. 3,175 กรัม
สัปดาห์ที่ 40 51.2 ซ.ม. 3,400 กรัม

น้ำหนักของลูกน้อยนั้นเเต่ละสัปดาห์มีความแตกต่างกันออกไป เช่น

น้ำหนักทารกในครรภ์ 26 สัปดาห์นั้นจะน้ำหนัก 755 กรัม

น้ําหนักลูกในครรภ์ 8 เดือน สัปดาห์นั้นจะน้ำหนัก 1,700 กรัม

น้ําหนักทารกในครรภ์ 34 สัปดาห์นั้นจะน้ำหนัก 2,154 กรัม

น้ํา หนัก ทารกในครรภ์ 37 สัปดาห์นั้นจะน้ำหนัก 2,872 กรัม

เพื่อให้เห็นความแตกต่างแต่ละสัปดาห์ และทาน อารหารเพิ่มน้ำหนักลูกในครรภ์ ด้วยนะคะ เพื่อให้น้ำหนักลูกเพิ่มขึ้น

 

น้ําหนักทารกในครรภ์ จะทราบได้อย่างไร ตารางน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์

วิธีคํานวณน้ำหนักทารกในครรภ์ ทราบถึงค่าเฉลี่ย น้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์ กันไปแล้ว ต่อไปเราจะมาดูกันว่า มีวิธีใดที่จะทำให้แม่ท้องได้ทราบขนาดและน้ำหนักของทารกในครรภ์กันบ้าง

 

ดูจากน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นของคุณแม่

สำหรับการตั้งครรภ์ปกติ น้ำหนักแม่ท้องจะเพิ่มขึ้นต่อเนื่องหลังอายุครรภ์ 3 เดือน เฉลี่ยสัปดาห์ละ 0.2-0.5 กิโลกรัม คุณหมอจะทำการประเมินน้ำหนักของทารกในครรภ์ แล้วดูว่าทารกตัวเล็กหรือตัวใหญ่ได้จากน้ำหนักตัวแม่ซึ่งจะต้องสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้นด้วย

 

ตารางน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์

น้ำหนักทารกในครรภ์ น้ํา หนัก ลูก ใน ครรภ์ 8 เดือน

 

วัดความสูงยอดมดลูก

วิธีวัดความสูงยอดมดลูก ที่นิยมใช้กันนั้นมีอยู่ 2 วิธี ดังนี้

 

1. ใช้สัดส่วนของยอดมดลูก กับหน้าท้องหญิงตั้งครรภ์

วิธีวัดความสูงยอดมดลูกโดยการใช้สัดส่วนของยอดมดลูกกับหน้าท้องหญิงตั้งครรภ์ ทำได้โดยแบ่งระยะระหว่างสะดือกับกระดูกหัวหน่าวเป็น 3 ส่วนเท่า ๆ กัน และแบ่งระยะระหว่างสะดือกับกระดูกลิ้นปี่เป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน ซึ่งความสูงของยอดมดลูกแต่ละช่วงอายุครรภ์ จะมีความสัมพันธ์กันดังนี้

  • อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ยอดมดลูกจะสูงประมาณ 1/3 เหนือกระดูกหัวหน่าว
  • อายุครรภ์ 16 สัปดาห์ ยอดมดลูกจะสูงประมาณ 2/3 เหนือกระดูกหัวหน่าว
  • อายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ระดับสะดือ
  • อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ ยอดมดลูกจะสูงกว่าระดับสะดือเล็กน้อย
  • อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ 1/4 เหนือระดับสะดือ
  • อายุครรภ์ 32 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ 2/4 เหนือระดับสะดือ
  • อายุครรภ์ 36 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ 3/4 เหนือระดับสะดือ

 

2. วิธีวัดความสูงยอดมดลูกโดยใช้สายวัด

การวัดระดับยอดมดลูกโดยใช้สายวัดทำได้โดยการวัดระยะจากรอยต่อของกระดูกหัวหน่าวไปจนถึงยอดมดลูก โดยแนบตามส่วนโค้งของมดลูก ซึ่งในช่วงอายุครรภ์ 18–30 สัปดาห์ ระยะที่วัดได้เป็นเซนติเมตร จะเท่ากับอายุครรภ์เป็นสัปดาห์ ยกตัวอย่างเช่น หากวัดได้ 26 เซนติเมตร ก็จะเท่ากับอายุครรภ์ 26 สัปดาห์ นั่นเอง

นอกจากการวัดขนาดของมดลูกสามารถคะเนอายุครรภ์ได้แล้ว ยังสามารถบอกได้อีกด้วยว่าสุขภาพของทารกในครรภ์นั้นเป็นอย่างไร ซึ่งถ้าหากว่าระดับยอดมดลูกไม่สัมพันธ์ตามที่กล่าวมา ก็อาจบ่งบอกได้ว่าอาจมีภาวะทารกโตช้าในครรภ์ หรือลูกตัวใหญ่เกินเกณฑ์ได้

 

อัลตร้าซาวด์

เป็นวิธีที่ประเมินขนาดและน้ำหนักของทารกในครรภ์ ที่ค่อนข้างแม่นยำกว่าวิธีอื่น คุณพ่อคุณแม่จะสามารถมองเห็นความสมบูรณ์ หรือเช็กความผิดปกติของลูกในครรภ์ รวมถึงทราบเพศลูกจากการอัลตร้าซาวด์นี้ได้ด้วย

ได้ทราบถึงค่าเฉลี่ย น้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์ พร้อมวิธีการตรวจสอบกันไปแล้ว ระหว่างนี้ แม่ท้องก็อย่าลืมดูแลสุขภาพ กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพื่อสุขภาพที่ดีทั้งคุณแม่ และลูกในครรภ์นะ

 

บทความจากพันธมิตร
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ

วิธีนับลูกดิ้น นับอย่างไร ถึงจะรู้ว่าลูกปลอดภัย ไม่เสียชีวิตในครรภ์

ตกเลือดตอนท้องอ่อน เรื่องเสี่ยงแท้ง ที่แม่ท้องต้องระวัง

วิธีกระตุ้นการรับรู้และอารมณ์ของลูกในครรภ์ ช่วยลูกคลอดมาแล้วเลี้ยงง่าย อารมณ์ดี มีความสุข

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ตารางน้ำหนักและขนาดของทารกในครรภ์ ที่จะบอกว่าลูกในท้องแข็งแรงดีแค่ไหน
แชร์ :
  • ตารางน้ำหนักลูกน้อยในครรภ์ แต่ละสัปดาห์เป็นยังไงบ้าง

    ตารางน้ำหนักลูกน้อยในครรภ์ แต่ละสัปดาห์เป็นยังไงบ้าง

  • ความสำคัญของ น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ น้ำหนักก่อนท้อง สำคัญยังไง?

    ความสำคัญของ น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ น้ำหนักก่อนท้อง สำคัญยังไง?

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • ตารางน้ำหนักลูกน้อยในครรภ์ แต่ละสัปดาห์เป็นยังไงบ้าง

    ตารางน้ำหนักลูกน้อยในครรภ์ แต่ละสัปดาห์เป็นยังไงบ้าง

  • ความสำคัญของ น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ น้ำหนักก่อนท้อง สำคัญยังไง?

    ความสำคัญของ น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ น้ำหนักก่อนท้อง สำคัญยังไง?

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ