theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง

การแท้งเกิดขึ้นได้อย่างไร เรื่องจริงเกี่ยวกับ "การแท้งบุตร" ที่คุณอาจไม่รู้

บทความ 5 นาที
แชร์ :
•••
การแท้งเกิดขึ้นได้อย่างไร เรื่องจริงเกี่ยวกับ "การแท้งบุตร" ที่คุณอาจไม่รู้

นี่คือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการแท้งลูกที่คุณควรรู้ เพื่อลดโอกาสเสี่ยงในการแท้งบุตร หรือเพื่อรับมือกับมันได้ดีขึ้น ผู้ที่กำลังพยายามมีลูกหรือกำลังตั้งครรภ์ควรอ่านไว้

การแท้งเกิดขึ้นได้อย่างไร เรื่องจริงเกี่ยวกับ “การแท้งบุตร” ที่คุณอาจไม่รู้

การแท้งบุตร

การแท้งเกิดขึ้น ได้อย่างไร เรื่องจริงเกี่ยวกับ “การแท้งบุตร” ที่คุณอาจไม่รู้

#1 การแท้งบุตรเกิดขึ้นได้บ่อยกว่าที่คุณคิด

จากสถิติที่ผ่านมา พบว่าประมาณ 15 % ของผู้หญิงที่ตั้งครรภ์มีโอกาสแท้งบุตร แต่ด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ก้าวหน้า สามารถตรวจรู้ว่าท้องได้ตั้งแต่อายุครรภ์ยังน้อย ตัวเลขดังกล่าวอาจปรับเพิ่มสูงเป็น 30% เพราะที่ผ่านมาผู้หญิงหลายคนไม่ทราบด้วยซ้ำว่าตัวเองท้องและแท้งบุตรไปแล้ว

#2 การแท้งบุตรมักเกิดในช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์

จริง ๆ แล้วการแท้งบุตรหมายถึงการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนครบ 20 สัปดาห์ การแท้งบุตรส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ครบ 3  เดือน (เป็นเหตุผลที่ว่าทำไมคุณพ่อคุณแม่จึงควรประกาศข่าวดีกับญาติและเพื่อนฝูงหลังจาก 3 เดือนไปแล้ว) การแท้งหลังจากตั้งครรภ์ได้ 20 สัปดาห์มักถูกเรียกว่า การตายคลอด (Stillbirth)

การแท้งเกิดขึ้นได้อย่างไร เรื่องจริงเกี่ยวกับ

บางคนอาจ มีอาการซึมเศร้า แม้แต่คุณพ่อเอง ก็อาจรู้สึกเสียใจ ได้เช่นกัน

สาเหตุของการตายคลอด

#3 แท้งแบบไม่รู้ตัว

คุณอาจแท้งบุตรภายใน 10 วันแรกหลังการปฏิสนธิ โดยที่คุณอาจไม่รู้ตัว คุณอาจจะคิดว่ามันคือประจำเดือน การที่มีเลือดออกหรือมีอาการปวดเกร็งเป็นสัญญาณหนึ่งของการแท้ง ดังนั้นถ้าคุณรู้ว่าคุณกำลังตั้งครรภ์และมีอาการดังกล่าว คุณควรไปพบแพทย์โดยด่วน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาขึ้นในภายหลัง เช่น การตกเลือด หรือการติดเชื้อ

#4 ไม่ใช่ความผิดของคุณ

การแท้งบุตรส่วนใหญ่เกิดขึ้นเพราะความผิดปกติทางพันธุกกรมของตัวอ่อน ซึ่งไม่มีทางป้องกัน หรือรู้ได้ล่วงหน้า มันอาจเกิดขึ้นกับใครหรือเมื่อไหร่ก็ได้

#5 คุณแม่ที่อายุมากมีโอกาสแท้งมากกว่า

การแท้งบุตรจะพบได้บ่อยกว่าในผู้หญิงที่มีอายุมาก เพราะไข่ของคุณแม่มีอายุมากกว่า ซึ่งแปลว่ามีโอกาสผิดปกติได้มากกว่า

การแท้งเกิดขึ้นได้อย่างไร เรื่องจริงเกี่ยวกับ

คุณอาจแท้งบุตร ภายใน 10 วันแรก หลังการปฏิสนธิ โดยที่คุณ อาจไม่รู้ตัว

#6 ผู้ที่รักษาภาวะมีลูกยากอาจเสี่ยงแท้งมากกว่า

การรักษาภาวะมีลูกยากไม่ได้ทำให้ความเสี่ยงเพิ่มสูงขึ้น หรือถ้าหากมีผลจริง ก็อาจส่งผลน้อยมาก ผู้หญิงหลายคนที่เข้ารับการรักษานั้นมักมีอายุมาก หรือมีปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ซึ่งส่งผลต่อภาวะเจริญพันธุ์อยู่แล้ว จึงบอกได้ยากว่าการแท้งนั้นเกิดจากการรักษาหรือปัจจัยอื่น ถ้าคุณอายุ 40 ปีและกำลังพยายามมีลูก คุณอาจมีโอกาสตั้งครรภ์สำเร็จมากกว่าหากใช้ไข่จากผู้บริจาคที่มีอายุน้อยกว่า

#7 น้ำหนักตัวคุณแม่ก็สำคัญ

คนที่ผอมหรืออ้วนเกินไปอาจเสี่ยงแท้งบุตรมากขึ้น โรคเบาหวานซึ่งมีต้นตอมาจากความอ้วน ก็เป็นอีกหนึ่งสาเหตุเช่นกันหากไม่ได้ถูกควบคุมอย่างใกล้ชิด ผู้หญิงที่หมั่นตรวจเช็คระดับน้ำตาลในเลือด และควบคุมระดับน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ปกติ จะมีความเสี่ยงในการแท้งบุตรเท่า ๆ กับผู้หญิงปกติที่ไม่ได้เป็นโรคเบาหวาน

การแท้งเกิดขึ้นได้อย่างไร เรื่องจริงเกี่ยวกับ

แพทย์มักจะไม่ หาต้นตอของการแท้ง หากคุณไม่ได้ แท้งถึง 2 ครั้ง

#8 บุหรี่เพิ่มความเสี่ยง

ผู้หญิงที่สูบบุหรี่มีโอกาสแท้งบุตรได้มากกว่า ฉะนั้น นี่เป็นอีกหนึ่งเหตุผลที่ว่าทำไมคุณจึงไม่ควรสูบบุหรี่ ไม่ว่าคุณจะท้องหรือไม่ก็ตาม

#9 เซ็กซ์ไม่ใช่สาเหตุ

ความเชื่อที่ว่าการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างตั้งครรภ์จะทำให้แท้งนั้น ไม่เป็นความจริง การออกกำลังหรือการทำงานปกติก็ไม่เกี่ยวเช่นกัน

#10 แท้งหนึ่งครั้ง ไม่ได้แปลว่าจะแท้งไปตลอด

ผู้หญิงหลายคนที่เคยแท้งบุตร สามารถมีลูกได้โดยไม่มีปัญหา อันที่จริง แพทย์มักจะไม่หาต้นตอของการแท้ งหากคุณไม่ได้แท้งถึง 2 ครั้ง หรือมากกว่า (แต่มีความเป็นไปได้ที่คุณจะแท้งมากกว่าหนึ่งครั้ง)

#11 ความเสียใจหลังแท้งบุตรถือเป็นเรื่องปกติ

ความรู้สึกสูญเสียหลังการแท้งบุตรนั้น ถือเป็นเรื่องปกติ แม้ว่าจะเกิดขึ้นไม่นานหลังเริ่มตั้งครรภ์ ผู้หญิงอาจรู้สึกผูกพันกับครรภ์ แม้ว่าจะยังไม่ได้เห็นอัลตราซาวน์หรือรู้สึกถึงเด็กในท้อง บางคนอาจมีอาการซึมเศร้า แม้แต่คุณพ่อเองก็อาจรู้สึกเสียใจได้เช่นกัน

การแท้งเกิดขึ้นได้อย่างไร เรื่องจริงเกี่ยวกับ

ผู้หญิงอาจรู้สึก ผูกพันกับครรภ์ แม้ว่าจะยังไม่ได้ เห็นอัลตราซาวน์ หรือรู้สึกถึงเด็กในท้อง

วิธีปลอบใจคนแท้ง

The Asianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและสังคมคุณแม่ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และในเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น The Asianparent ที่ติดตามการตั้งครรภ์ ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งานฟรี เพื่อติดตามพัฒนาการของทารก ตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุด และผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์ และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก The Asianparent เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

บทความที่เกี่ยวข้อง :

โรงพยาบาล พญาไท – เช็คลิสต์! 10 พฤติกรรมเสี่ยง “มีลูกยาก”

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

ทำไมท้องแล้วถึงแท้ง? ลูกหลุดเกิดจากอะไร มาดูสาเหตุที่ ท้องแล้วลูกหลุดบ่อย

หลังจากที่ แท้งแล้วคุณควรจะ ทำอย่างไร ต่อไปดี ทำให้ตัวเอง ลุกขึ้นได้

6 อาหารเสี่ยงแท้ง กินแล้วเสี่ยงแท้งได้ คนท้องต้องระวัง ของพวกนี้ ไว้ให้ดี

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • การแท้งเกิดขึ้นได้อย่างไร เรื่องจริงเกี่ยวกับ "การแท้งบุตร" ที่คุณอาจไม่รู้
แชร์ :
•••
  • 5 ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับการแท้งบุตร

    5 ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับการแท้งบุตร

  • 10 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ คนท้องไตรมาสแรก ท้องไตรมาสแรก ควรรู้อะไรบ้าง

    10 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ คนท้องไตรมาสแรก ท้องไตรมาสแรก ควรรู้อะไรบ้าง

  • ลูกเป็นแผลในปาก ร้อนใน แม่จะรู้ได้ไงว่าลูกเป็นแค่ร้อนใน หรือป่วยร้ายแรงกว่านั้น

    ลูกเป็นแผลในปาก ร้อนใน แม่จะรู้ได้ไงว่าลูกเป็นแค่ร้อนใน หรือป่วยร้ายแรงกว่านั้น

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

app info
get app banner
  • 5 ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับการแท้งบุตร

    5 ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับการแท้งบุตร

  • 10 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ คนท้องไตรมาสแรก ท้องไตรมาสแรก ควรรู้อะไรบ้าง

    10 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ คนท้องไตรมาสแรก ท้องไตรมาสแรก ควรรู้อะไรบ้าง

  • ลูกเป็นแผลในปาก ร้อนใน แม่จะรู้ได้ไงว่าลูกเป็นแค่ร้อนใน หรือป่วยร้ายแรงกว่านั้น

    ลูกเป็นแผลในปาก ร้อนใน แม่จะรู้ได้ไงว่าลูกเป็นแค่ร้อนใน หรือป่วยร้ายแรงกว่านั้น

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
  • สังคมออนไลน์
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
  • สุขภาพ

ดาวน์โหลดแอปของเรา

google play store
Appstore
  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
เปิดในแอป