theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง

11 เคล็ดลับสอนให้พี่น้องรักกัน (ไม่ใช่เรื่องยาก)

5 Feb, 2021
แชร์ :
•••

คุณแม่ปวดหัวไหมคะ เลี้ยงลูกคนเดียวก็ว่าเหนื่อยแล้ว นี่มีถึง 2 (บางบ้านอาจมี 3) คน บางทีพี่น้องก็ทะเลาะกัน แย่งของกัน ตีกันบ้างตามประสาเด็ก บางวันคุณแม่อาจจะเจอว่าคนพี่กำลังแย่งของจากคนน้อง หรือคนน้องไม่ยอมที่จะช่วยคนพี่ มันไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เลยที่จะให้พี่น้องดีกันตลอดเวลา แต่ก็หวังอยู่เสมอว่าลูกๆ ของพวกเราจะเล่นกันด้วยกันอย่างมีความสุข (ให้มากที่สุดในแต่ละวันได้) นี่คือเคล็ดลับสำหรับคุณแม่ หากคุณกำลังมีช่วงเวลาที่ยากลำบากในการที่จะหาหนทางที่จะช่วยทำให้พี่น้องรักกันและเข้ากันได้ดี

11 เคล็ดลับสอนให้พี่น้องรักกัน (ไม่ใช่เรื่องยาก)

11 เคล็ดลับสอนให้พี่น้องรักกัน (ไม่ใช่เรื่องยาก)

คุณแม่ปวดหัวไหมคะ เลี้ยงลูกคนเดียวก็ว่าเหนื่อยแล้ว นี่มีถึง 2 (บางบ้านอาจมี 3) คน บางทีพี่น้องก็ทะเลาะกัน แย่งของกัน ตีกันบ้างตามประสาเด็ก บางวันคุณแม่อาจจะเจอว่าคนพี่กำลังแย่งของจากคนน้อง หรือคนน้องไม่ยอมที่จะช่วยคนพี่ มันไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เลยที่จะให้พี่น้องดีกันตลอดเวลา แต่ก็หวังอยู่เสมอว่าลูกๆ ของพวกเราจะเล่นกันด้วยกันอย่างมีความสุข (ให้มากที่สุดในแต่ละวันได้) นี่คือเคล็ดลับสำหรับคุณแม่ หากคุณกำลังมีช่วงเวลาที่ยากลำบากในการที่จะหาหนทางที่จะช่วยทำให้พี่น้องรักกันและเข้ากันได้ดี
1.ให้พี่น้องได้มีกิจกรรมด้วยกัน

1.ให้พี่น้องได้มีกิจกรรมด้วยกัน

ให้พี่มาช่วยในตอนอาบน้ำ อ่านหนังสือ หรือ แปรงฟัน บอกคนพี่ว่ามันเป็นเรื่องดีในการที่จะดูแลและเอาใจใส่น้องๆ บอกพวกเขาว่า แม่ชอบแค่ไหนเวลาที่เห็นลูกๆ ดูแลกันเอง และบางครั้งคุณอาจมอบหมายเรื่องอื่นๆ ที่พวกเขาสามารถทำร่วมกันได้อีก
2.พยายามป้องกันไม่ให้เกิดสถานการณ์ที่ทำให้ทะเลาะกัน

2.พยายามป้องกันไม่ให้เกิดสถานการณ์ที่ทำให้ทะเลาะกัน

เช่น ถ้าคนพี่กำลังเล่นตัวต่อเลโก้อยู่ ก็ให้เขาไปเล่นในห้องนอนหรืออยู่อีกห้องหนึ่งที่ปิดประตู ก็จะทำให้สิ่งที่เป็นตัวกระตุ้นหายไป
3.ถ้าพวกเค้าทะเลาะกันเพราะแย่งสิ่งของ (ของเล่น หนังสือ เสื้อผ้า) ก็ให้นำสิ่งของเหล่านั้นออกไป

3.ถ้าพวกเค้าทะเลาะกันเพราะแย่งสิ่งของ (ของเล่น หนังสือ เสื้อผ้า) ก็ให้นำสิ่งของเหล่านั้นออกไป

และบอกพวกเขาว่า แม่จะไม่ให้ของเล่นกับลูกทั้งคู่ ถ้าหากยังทะเลาะกัน
4.คุยกับลูกเมื่อพวกเขาเริ่มจะรู้สึกอิจฉากัน

4.คุยกับลูกเมื่อพวกเขาเริ่มจะรู้สึกอิจฉากัน

คุยกับลูกในยามที่เขาอยู่ในอารมณ์ปกติ ว่ามันไม่ใช่เรื่องที่ดีเลยที่จะรู้สึกแบบนี้ ลองยกตัวอย่างสถานการณ์หลายๆอย่างให้ลูกฟังว่าอะไรดีและไม่ดี
5.ใช้ช่วงเวลาที่ลูกสงบหรืออารมณ์ดีมาพูดคุยกัน

5.ใช้ช่วงเวลาที่ลูกสงบหรืออารมณ์ดีมาพูดคุยกัน

บอกกับลูกว่าพี่ชายหรือพี่สาวรักน้องแค่ไหน ในเวลาที่คุณได้เห็นว่าพี่น้องทำสิ่งดีๆ ให้แก่กัน อย่าลืมให้รางวัลกับเรื่องนี้ด้วยคำชื่นชมนะคะ
6.ลองให้ลูกๆ พูดถึง 3 สิ่งที่ชอบในพี่น้องแต่ละคนในทุกๆ วัน

6.ลองให้ลูกๆ พูดถึง 3 สิ่งที่ชอบในพี่น้องแต่ละคนในทุกๆ วัน

เมื่อแต่ละคนได้ยินแล้วคุณจะได้เห็นพวกเขาดูสดชื่นและมีความสุขเชียวล่ะ
7. หากทะเลาะกันให้แยกพวกเขากลับไปที่ห้องของตัวเองสักพัก

7. หากทะเลาะกันให้แยกพวกเขากลับไปที่ห้องของตัวเองสักพัก

ภายใน 5 นาที คุณจะเห็นว่าพวกเขาจะมากลับขอเล่นกับอีกคน และเมื่อทะเลาะกันอีกคุณจำเป็นต้องบอกกับพวกเขาว่า “แต่ถ้าพวกลูกทะเลาะกันอีกแม่ก็จะจับพวกลูกแยกกันอีกนะ”
8. สอนให้คนพี่รู้จักที่จะเสนอสิ่งอื่นให้กับคนน้องแทนของที่อยากได้

8. สอนให้คนพี่รู้จักที่จะเสนอสิ่งอื่นให้กับคนน้องแทนของที่อยากได้

มันจะช่วยให้เขาเรียนรู้วิธีแก้ไขสถานการณ์ เมื่อยามที่น้องพูดว่า “หนูจะเอาของพี่”
9. พูดคุยกับเค้าถึงความสำคัญของการเป็น “พี่สาว” หรือ “น้องชาย”

9. พูดคุยกับเค้าถึงความสำคัญของการเป็น “พี่สาว” หรือ “น้องชาย”

ว่าแท้จริงแล้ว พวกเขาทั้งคู่เกิดมาเป็นพี่น้องที่คอยดูแลกันและกัน เป็นเพื่อนกัน
10. หากิจกรรมที่ต้องทำร่วมกันเป็นทีมเวิร์คให้พี่น้องได้เล่น

10. หากิจกรรมที่ต้องทำร่วมกันเป็นทีมเวิร์คให้พี่น้องได้เล่น

เช่น พัซเซิลหรือเล่นเกมที่ให้พวกเขาได้อยู่ทีมเดียวกัน ที่จะทำให้พวกเขาได้รู้สึกว่าจะต้องผ่านอุปสรรคไปด้วยกัน “พี่กับน้องจะร่วมกันเอาชนะเกมนี้”
11.ให้โอกาสพี่น้องได้สร้างความสัมพันธ์

11.ให้โอกาสพี่น้องได้สร้างความสัมพันธ์

เช่น นอนด้วยกันในห้องของแต่ละคน ให้เดินทางไปหาคุณย่า/คุณยาย กันเองโดยคุณไม่ได้ไปด้วย เหล่านี้ถือเป็นโอกาสสำหรับพวกเขาที่จะได้เติบโตไปด้วยกัน
ถัดไป

บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • 11 เคล็ดลับสอนให้พี่น้องรักกัน (ไม่ใช่เรื่องยาก)
แชร์ :
•••
  • พี่น้องรักกัน เลี้ยงลูกยังไงให้พี่น้องรักกัน ช่วยเหลือ ดูแลกัน

    พี่น้องรักกัน เลี้ยงลูกยังไงให้พี่น้องรักกัน ช่วยเหลือ ดูแลกัน

  • สุดยอดเคล็ดลับสำหรับคุณแม่นักปั๊ม ปั๊มตอนไหน เก็บอย่างไร ให้ลูกมีน้ำนมกินไปตลอด

    สุดยอดเคล็ดลับสำหรับคุณแม่นักปั๊ม ปั๊มตอนไหน เก็บอย่างไร ให้ลูกมีน้ำนมกินไปตลอด

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

  • คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

    คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

app info
get app banner
  • พี่น้องรักกัน เลี้ยงลูกยังไงให้พี่น้องรักกัน ช่วยเหลือ ดูแลกัน

    พี่น้องรักกัน เลี้ยงลูกยังไงให้พี่น้องรักกัน ช่วยเหลือ ดูแลกัน

  • สุดยอดเคล็ดลับสำหรับคุณแม่นักปั๊ม ปั๊มตอนไหน เก็บอย่างไร ให้ลูกมีน้ำนมกินไปตลอด

    สุดยอดเคล็ดลับสำหรับคุณแม่นักปั๊ม ปั๊มตอนไหน เก็บอย่างไร ให้ลูกมีน้ำนมกินไปตลอด

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

  • คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

    คําคมวันวาเลนไทน์ คําคมความรักวันวาเลนไทน์ แคปชั่นวันวาเลนไทน์

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
  • สังคมออนไลน์
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
  • สุขภาพ

ดาวน์โหลดแอปของเรา

google play store
Appstore
  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
เปิดในแอป