X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

แม่ฟรีแลนซ์เฮดัง! แค่มีบัตรประชาชนก็ทำประกันสังคมได้แล้ว!

29 Apr, 2017
แม่ฟรีแลนซ์เฮดัง! แค่มีบัตรประชาชนก็ทำประกันสังคมได้แล้ว!แม่ฟรีแลนซ์เฮดัง! แค่มีบัตรประชาชนก็ทำประกันสังคมได้แล้ว!

ข่าวดีจ้าข่าวดี คุณพ่อคุณแม่บ้านไหนประกอบอาชีพฟรีแลนซ์หรืออาชีพอิสระแล้วอยากทำประกันสังคมละก็ 1 พ.ค. เตรียมตัว!

ครม. เห็นชอบเพิ่มสิทธิผู้ประกันตนมาตรา 40 เป็นของขวัญวันแรงงาน เพิ่มสิทธิประโยชน์ทดแทนเจ็บป่วยได้เงินชดเชยวันละ 300 ลาท รับโบนัสชราภาพ เปิดกว้างรับแรงงานนอกระบบ คาดดึงแรงงานนอกระบบเป็นสมาชิกปีแรก 3 ล้านคน และขยายเพิ่มเป็น 20 ล้านคน

เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560ที่ผ่านมา พล.อ. ศิริชัย ดิษฐกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานเปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบร่างกฎหมาย 3 ฉบับเพื่อปรับปรุงสิทธิประโยชน์การประกันตนตามมาตรา 40 ประกอบด้วย ร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดคุณสมบัติการสมัครเข้าเป็นผู้ประกันคน ร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และอัตราการจ่ายเงินสมทบ ประโยชน์ทดแทน และร่างกฎกระทรวงอัตราเงินสมทบของรัฐบาลจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายรัฐบาลลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม โดยขณะนี้อยู่ระหว่างพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา ก่อนเสนอสภานิติบัญญัติแห่งชาติเห็นชอบ คาดว่าน่าจะมีผลบังคับใช้ในอีก 2 เดือน

พล.อ. ศิริชัยยังกล่าวเพิ่มเติมอีกว่า สำหรับร่างกฎหมายทั้งหมดมีไว้เพื่อช่วยเหลือแรงงานนอกระบบที่ไม่มีนายจ้าง เช่นคนทำงานที่บ้าน หาบเร่ แผงลอย คนขับรถแท็กซี่ มอเตอร์ไซด์รับจ้างให้มีระบบประกันตนชดเชยด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นของขวัญแรงงานในวันที่ 1 พฤษภาคมที่จะถึงนี้ ด้วยการเพิ่มสิทธิประโยชน์อันได้แก่ การเพิ่มเงินทดแทนการขาดรายได้กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเพิ่มเป็นวันละ 300 บาท สำหรับกรณีพักรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่วันแรกที่เข้ารับการรักษา

ฟรีแลนซ์ อาชีพอิสระ ประกันสังคม

แต่ทั้งนี้ในส่วนของการเป็นผู้ป่วยนอกนั้น หากมีใบรับรองแพทย์ให้หยุดพักรักษาตัวตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป ก็จะได้รับเงินวันละ 200 บาทและหากใบรับรองแพทย์ให้หยุดพัก 1 - 2 วันก็จะได้รับเงินทดแทนวันละ 50 บาท แต่ไม่เกินคนละ 3 ครั้งต่อปี รวมทั้งยังเพิ่มเงินสงเคราห์กรณีตาย 3,000 บาท เมื่อส่งเงินสมทบครบ 60 เดือน และได้รับค่าทำศพ 40,000 บาท

ส่วนกรณีสงเคราะห์บุตรก็จะจ่ายคนละ 200 บาทต่อเดือนครั้งละ 2 คน กรณีชราภาพได้รับเงินบำเหน็จชราภาพ หากส่งเงินสมทบครบ 180 เดือน นอกจากเงินสมทบของตนเองพร้อมผลตอบแทนแล้ว ยังได้รับเงินเพิ่มหรือโบนัสอีก 10,000 บาทต่อราย

การจ่ายเงินสมทบมีให้เลือก 3  ทางได้แก่

  1. จ่ายเดือนละ 70 บาท รัฐบาลจ่ายสมทบ 30 บาท ได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีประสบอุบัติเหตุ เจ็บป่วย ทุพพลภาพและเสียชีวิต
  2. จ่ายเดือนละ 100 บาท รัฐบาลจ่ายสมทบ 50 บาทต่อเดือน ได้รับเพิ่มสิทธิบำเหน็จชราภาพ
  3. จ่ายเดือนละ 300 บาท รัญบาลจ่ายสมทบ 150 บาท ได้รับสิทธิเพิ่มอีก รวมถึงการสงเคราะห์บุตร

โดยร่างกฎหมายทั้ง 3 ฉบับนั้นคาดว่าจะมีผลบังคับใช้ในอีก 2-3 เดือนข้างหน้า นอกจากนี้สำนักงานประกันสังคมยังเพิ่มสิทธิประโยชน์บริการทางการแพทย์รวม 12 รายการเช่น

  1. ปรับเงื่อนไขคุณสมบัติสถานพยาบาลที่ผ่าตัด ใส่เครื่องกระตุกไฟฟ้าอัตโนมัติเพื่อเพิ่มจำนวนสถานพยาบาล
  2. เพิ่มวงเงินสำหรับการผ่าตัดเตรียมเส้นเลือดเพื่อการฟอกไต หรือวางท่อรับ-ส่งน้ำยาล้างช่องท้องเพิ่ม 10,000 บาทจากเดิมเป็น 20,000 บาทต่อปี
  3. เพิ่มการเข้าถึงยากระตุ้นเม็ดเลือดแดงในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายโดยเพิ่มรายการยาจากเดิม 9 รายการเป็น 11 รายการ
  4. เพิ่มการเข้าถึงยาของผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV ในระยะแรก เพื่อให้ผู้ประกันตนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถทำงานและใช้ชีวิตได้เหมือนคนปกติ
  5. เพิ่มการเข้าถึงยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยหลอดเลือดในสมองตีบหรืออุดตัน และผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
  6. เพิ่มประโยชน์ทันตกรรม กรณีอุดฟัน ขูดหินปูน ถอนฟันจาก 600 บาทเป็น 900 บาทต่อคนต่อปี และให้ผู้ประกันตนสามารถเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลที่ทำความตกลงกับสำนักงานประกันสังคมโดยไม่ต้องสำรองจ่าย
  7. เพิ่มอัตรการผ่าตัดอวัยวะกระจกตา จากเดิม 25,000 บาทเป็น 50,000 บาท

ที่มา: หนังสือพิมพ์แนวหน้า

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ:

บทความจากพันธมิตร
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ

เช็คเลย! เรื่องที่แม่ท้องต้องรู้ เกี่ยวกับสิทธิประกันสังคม กรณีคลอดบุตร

เบิกค่าคลอดบุตร สิทธิประกันสังคม ได้เท่าไหร่ พ่อมือใหม่เล่าอย่างละเอียดยิบ

parenttown

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • แม่ฟรีแลนซ์เฮดัง! แค่มีบัตรประชาชนก็ทำประกันสังคมได้แล้ว!
แชร์ :
  • ฝากท้องประกันสังคม ได้หรือเปล่า สิทธิประกันสังคมคนท้อง ที่แม่ ๆ ควรรู้

    ฝากท้องประกันสังคม ได้หรือเปล่า สิทธิประกันสังคมคนท้อง ที่แม่ ๆ ควรรู้

  • สิทธิประกันสังคมมาตรา 33 ได้รับสวัสดิการอะไรบ้าง ใครได้บ้าง

    สิทธิประกันสังคมมาตรา 33 ได้รับสวัสดิการอะไรบ้าง ใครได้บ้าง

  • 10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

    10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

  • แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

    แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

app info
get app banner
  • ฝากท้องประกันสังคม ได้หรือเปล่า สิทธิประกันสังคมคนท้อง ที่แม่ ๆ ควรรู้

    ฝากท้องประกันสังคม ได้หรือเปล่า สิทธิประกันสังคมคนท้อง ที่แม่ ๆ ควรรู้

  • สิทธิประกันสังคมมาตรา 33 ได้รับสวัสดิการอะไรบ้าง ใครได้บ้าง

    สิทธิประกันสังคมมาตรา 33 ได้รับสวัสดิการอะไรบ้าง ใครได้บ้าง

  • 10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

    10 อาหารล้างสารพิษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง สู้ต่อไปในวันที่ไวรัสรุมล้อม!

  • แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

    แพทย์เตือน! เลี้ยงลูกด้วยนมข้นหวานอันตรายถึงชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ