X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

สามีเซ็กส์เสื่อม...ผลกระทบจากภาวะพร่องฮอร์โมน!

บทความ 3 นาที
สามีเซ็กส์เสื่อม...ผลกระทบจากภาวะพร่องฮอร์โมน!

ภาวะพร่องฮอร์โมนมักเกิดขึ้นกับเพศชายที่เกิดจากภาวะฮอร์โมนในร่างกายขาดความสมดุล หรือฮอร์โมนในร่างกายที่สำคัญบางชนิดลดน้อยลงไป ส่งสัญญานหรือแสดงอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย รวมถึงเรื่องใหญ่ของเพศชายคือ ความต้องการทางเพศลดลง ส่งผลต่อสมรรถนะทางเพศให้เสื่อมลง และอาจจะส่งกระทบต่อปัญหาชีวิตคู่ตามมาด้วย

ภาวะพร่องฮอร์โมนส่งผลต่อสมรรถนะทางเพศ

ภาวะพร่องฮอร์โมนจะเกิดกับเพศชายที่มีอายุตั้งแต่ 35-50 ปี และเมื่ออายุเกินกว่า 60 ปี ฮอร์โมนจะลดต่ำลงร้อยละ 50 ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากฮอร์โมนเพศชายหรือฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนลดลง แหล่งผลิตหลักของฮอร์โมนชนิดนี้อยู่ที่ลูกอัณฑะ ที่มีบทบาทสำคัญในด้านพัฒนาการทางเพศ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย เช่น เด็กเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มจะเกิดเสียงทุ้ม มีหนวด มีกล้ามเนื้อที่เด่นชัดขึ้น เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนก็จะกระตุ้นความต้องการทางเพศเพิ่มขึ้น หากเซลล์ในอัณฑะไม่ตอบสนองต่อการควบคุมต่อมใต้สมองก็จะทำให้การผลิตฮฮร์โมนเพศลดลง เป็นผลที่ทำให้เกิด “ภาวะพร่องฮอร์โมน” นั้นเอง

สัญญาณภาวะพร่องฮอร์โมนที่คุณผู้ชายสามารถสังเกตได้

  • เริ่มมีอารมณ์แปรปรวน หลงลืมง่าย นอนหลับไม่ค่อยสนิท
  • รู้สึกอ่อนเพลียง่าย กล้ามเนื้อเริ่มไม่แข็งแรงเหมือนก่อน
  • รู้สึกซึมเศร้าเหงาหงอย ขาดความสนุก ความสดชื่น
  • มีความต้องการทางเพศลดลง
  • ความสามารถและสมรรถนะทางเพศบกพร่อง เซ็กส์เสื่อม

วิธีช่วยแก้ภาวะพร่องฮอร์โมน

  • หากพบว่ามีอาการดังกล่าวเกิดขึ้นควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับการรักษาและวินิจฉัยว่ามีภาวะฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนต่ำกว่าปกติหรือไม่
  • สามารถรับประทานอาหารเสริมภายใต้การควบคุมของแพทย์เพื่อปรับเพิ่มระดับฮอร์โมนในร่างกายได้
  • การออกกำลังกายเพื่อกระตุ้นฮอร์โมนซึ่งควรทำอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 45 นาทีต่อวัน
  • เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
  • การเข้านอนแต่หัวค่ำเพื่อช่วยให้ช่วงกลางดึกหลับสนิทยิ่งขึ้น
  • การพักผ่อนและทำใจให้สบาย มองโลกในแง่ดี และไม่คิดมาก

5 อาหารเพิ่มพลังรักให้ชีวิตคู่ร้อนแรง

เคล็ดลับ 8 ประการที่จะทำให้คุณมีเซ็กซ์ได้นานขึ้น

บทความจากพันธมิตร
การมีเพศสัมพันธ์ทุกวัน มีเซ็กส์ช่วงไหนท้องง่ายสุด วิธีมีเซ็กส์เพิ่มปั๊มลูก
การมีเพศสัมพันธ์ทุกวัน มีเซ็กส์ช่วงไหนท้องง่ายสุด วิธีมีเซ็กส์เพิ่มปั๊มลูก
สราญสิริ…บ้านคือพื้นที่แห่งความรักของทุกคน
สราญสิริ…บ้านคือพื้นที่แห่งความรักของทุกคน

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • ความรัก และ เซ็กส์
  • /
  • สามีเซ็กส์เสื่อม...ผลกระทบจากภาวะพร่องฮอร์โมน!
แชร์ :
  • เซ็กส์เสื่อม มีอาการแบบไหนบ้าง เช็คอาการสัญญาณก่อนถึงวัย

    เซ็กส์เสื่อม มีอาการแบบไหนบ้าง เช็คอาการสัญญาณก่อนถึงวัย

  • อาหาร 10 ชนิดทำเซ็กส์เสื่อม

    อาหาร 10 ชนิดทำเซ็กส์เสื่อม

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • เซ็กส์เสื่อม มีอาการแบบไหนบ้าง เช็คอาการสัญญาณก่อนถึงวัย

    เซ็กส์เสื่อม มีอาการแบบไหนบ้าง เช็คอาการสัญญาณก่อนถึงวัย

  • อาหาร 10 ชนิดทำเซ็กส์เสื่อม

    อาหาร 10 ชนิดทำเซ็กส์เสื่อม

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ