X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เคล็ดลับการปั๊มนมให้ลูกสำหรับแม่ทำงาน

22 Sep, 2014

คุณเคยสงสัยไหมว่า หากคุณต้องกลับไปทำงานแล้วคุณจะให้นมลูกอย่างไร? เรามีแนวทางให้คุณดูว่าจริง ๆ แล้วคุณยังสามารถให้นมลูกต่อไปได้โดยการปั๊มนมเก็บไว้ แม้ว่าคุณต้องกลับไปทำงานประจำเหมือนเดิม

1. หาซื้อที่ปั๊มนมที่เหมาะสมกับความต้องการของคุณ

1. หาซื้อที่ปั๊มนมที่เหมาะสมกับความต้องการของคุณ

ในปัจจุบันนี้มีที่ปั๊มนมให้คุณเลือกมากมาย ดังนั้นหากคุณเลือกที่จะปั๊มนมให้ลูกกินทุกวันก็ควรเลือกซื้อที่ปั๊มนมที่เหมาะสมกับคุณทั้งด้านความถี่ของการใช้และราคา อย่างที่ปั๊มนมอิเล็คทรอนิกส์แบบหัวปั๊มคู่ก็จะช่วยให้คุณประหยัดเวลาในการปั๊มนมได้มากทีเดียว เพราะว่าสามารถปั๊มทั้งสองเต้าได้พร้อมกัน
2. คุยกับเจ้านายเรื่องปั๊มนมในที่ทำงานก่อนกลับเข้าไปทำงาน

2. คุยกับเจ้านายเรื่องปั๊มนมในที่ทำงานก่อนกลับเข้าไปทำงาน

ลองคุยกับเจ้านายถึงความตั้งใจที่จะพยายามสานต่อการให้นมแม่กับลูกของคุณดู เพื่อดูว่านายจะสนับสนุนคุณมากน้อยแค่ไหน แต่ถ้านายลังเล คุณก็ควรให้ความมั่นใจกับเจ้านายโดยบอกว่าการปั๊มนมจะไม่ส่งผลกระทบต่อหน้าที่การงานของคุณแม้แต่น้อย เพราะคุณสามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างเต็มความสามารถ
3. ทำตารางเวลาปั๊มนม

3. ทำตารางเวลาปั๊มนม

คุณลองสังเกตดูว่าช่วงไหนคุณมีน้ำนมมากพอที่จะปั๊มให้ลูกกินได้ แล้วก็บันทึกลงตารางเวลาว่าคุณต้องปั๊มนมตอนกี่โมงบ้าง โดยปกติแล้วเราแนะนำให้คุณแม่ปั๊มนมทุก ๆ 3-4 ชั่วโมง แต่ก็สามารถยืดหยุ่นได้บ้าง เผื่อว่าคุณอาจจะติดธุระสำคัญที่ทำงาน จนไม่สามารถปลีกตัวได้ แต่หากคุณว่างเมื่อไหร่ ก็ควรปั๊มนมเก็บไว้เพิ่มขึ้นนะคะ
4. ผ่อนคลายช่วงปั๊มนม

4. ผ่อนคลายช่วงปั๊มนม

คุณควรผ่อนคลายและหยุดคิดเรื่องงานในขณะที่คุณกำลังปั๊มนมให้ลูกนะคะ ให้คุณลองคิดถึงหน้าลูกหรือสมมติว่าคุณกำลังอุ้มลูกอยู่ก็ได้ หรืออาจจะนั่งพักสายตาขณะปั๊มนมก็เป็นความคิดที่ดีเหมือนกันค่ะ
5. เก็บนมให้ถูกวิธี

5. เก็บนมให้ถูกวิธี

คุณควรเขียนวันที่แปะเอาไว้ที่ขวดหรือถุงใส่นมทุกครั้งก่อนเก็บเข้าตู้เย็นทั้งที่บ้านและที่ทำงาน เพื่อที่คุณจะได้หยิบใช้นมที่ปั๊มไว้ก่อนเป็นลำดับแรก ๆ เราสามารถเก็บนมที่อุณหภูมิห้องได้สูงสุด 10 ชั่วโมง ในตู้เย็นสามารถเก็บได้ 8 วัน ส่วนในช่องแช่แข็งสามารถเก็บได้นานถึง 2 อาทิตย์เลยทีเดียว ดังนั้นอย่างน้อยที่สุดก็ควรเก็บนมไว้ในตู้เย็นเสมอนะคะ
6. แต่ละวันลูกกินนมประมาณเท่าไหร่

6. แต่ละวันลูกกินนมประมาณเท่าไหร่

คุณต้องลองกำหนดดูว่าในวันหนึ่งลูกกินนมประมาณวันละกี่ขวด จากนั้นคุณก็ปั๊มเพิ่มขึ้นอีกสักหนึ่งขวดเพื่อเอาสำรองเอาไว้ ที่นี้ลูกคุณก็จะมีนมเพียงพอตลอดวันที่คุณต้องออกมาทำงานนอกบ้านแล้วละค่ะ นอกจากนี้คุณก็ควรลองเช็คดูด้วยว่ามีนมจำนวนกี่ขวดที่ลูกไม่ได้กิน
7. แต่งตัวให้เหมาะสมกับการปั๊มนม

7. แต่งตัวให้เหมาะสมกับการปั๊มนม

คุณควรเตรียมเสื้อคลุมเพื่อสวมใส่ปิดคราบน้ำนมที่ยังไหลซึมเปรอะเสื้อทำงานหลังจากเสร็จการปั๊มนม นอกจากนี้ก็ควรใช้แผ่นซับน้ำนมช่วยปกป้องอีกชั้น เสื้อผ้าที่ควรสวมใส่เวลาที่ต้องปั๊มนมเก็บไว้ควรจะเป็นเสื้อผ้าที่มีลายเพราะจะสังเกตเห็นคราบซึมของน้ำนมได้น้อยกว่าการใส่เสื้อผ้าสีเรียบ ดังนั้น เมื่อคุณมีการวางแผนการให้นมที่ดีแล้ว คุณก็สามารถรับมือกับการเป็นสุดยอดคุณแม่นักทำงานคนเก่งได้เลย
ถัดไป
img

บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • เคล็ดลับการปั๊มนมให้ลูกสำหรับแม่ทำงาน
แชร์ :
  • เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

    เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

  • โภชนาการสำหรับแม่ที่ให้นมลูก

    โภชนาการสำหรับแม่ที่ให้นมลูก

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

    เคล็ดลับบีบหรือปั๊มน้ำนม สำหรับคุณแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

  • โภชนาการสำหรับแม่ที่ให้นมลูก

    โภชนาการสำหรับแม่ที่ให้นมลูก

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ