theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง

อาการแม่ท้องแบบไหนเสี่ยงให้ลูกเกิดภาวะเครียดในครรภ์

บทความ 3 นาที
แชร์ :
•••
อาการแม่ท้องแบบไหนเสี่ยงให้ลูกเกิดภาวะเครียดในครรภ์

แม่ท้องโดยส่วนใหญ่มักไม่ทราบว่า ลูกน้อยในครรภ์ก็มีภาวะเครียดเกิดขึ้นได้ เพราะไม่รู้สึกว่าทารกในครรภ์มีอาการผิดปกติออกมา จนกระทั่งทารกมีภาวะเครียดมากส่งผลถึงเสียชีวิตได้

ภาวะทารกเครียดในครรภ์ (fetal distress) เกิดจากลูกน้อยในครรภ์ได้รับสารอาหารและออกซิเจนน้อย ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เลือดไปเลี้ยงทารกในครรภ์ไม่เพียงพอต่อความต้องการ

ภาวะทารกเครียดในครรภ์

อาการแม่ท้องแบบไหนเสี่ยงให้ลูกเกิดภาวะเครียดในครรภ์

1.แม่ท้องที่มีโรคประจำตัวที่เกี่ยวกับเส้นเลือด ซึ่งทำให้เลือดไปเลี้ยงทารกในครรภ์ไม่เพียงพอ เช่น มีโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไต เป็นต้น

2.แม่ท้องที่มีภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด

3.แม่ท้องที่มีภาวะสายสะดือย้อยหรือสายสะดือโผล่แลบ

4.แม่ท้องที่มีภาวะน้ำคร่ำน้อย หรือถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์คลอด ทำให้สายสะดือถูกกดทับกับส่วนต่าง ๆของทารก ส่งผลให้เส้นเลือดถูกอุดกั้น เลือดจึงไปเลี้ยงลูกในครรภ์ได้น้อยลง

5.แม่ท้องที่มีการตั้งครรภ์เกินกำหนด ส่งผลให้รกเสื่อมและประสิทธิภาพในการส่งเลือดไปเลี้ยงทารกไม่ดี

6.แม่ท้องที่มีภาวะรกเสื่อม

7.แม่ท้องที่มีภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์

8.แม่ท้องที่ได้รับยากระตุ้นการบีบตัวของมดลูกมากเกินไป ทำให้เส้นเลือดมดลูกหดตัว ส่งผลให้ขาดเลือดไปเลี้ยงรกและทารกในครรภ์เป็นเวลานาน

ภาวะทารกเครียดในครรภ์

ภาวะทารกเครียดในครรภ์อันตรายขนาดไหน?

หากแม่ท้องเกิดภาวะทารกเครียดในครรภ์ โดยส่วนใหญ่แพทย์จะรีบทำการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องทันที อันตรายที่เกิดกับทารกจึงขึ้นอยู่กับว่าขณะลูกอยู่ในครรภ์มีการขาดออกซิเจนมากน้อยเพียงใด หากขาดออกซิเจนไม่นานและได้รับการช่วยเหลือทันท่วงที ก็จะไม่มีความพิการต่อสมองทารก แต่ถ้าขาดออกซิเจนนานจะทำให้สมองทารกพิการได้ เมื่อคลอดออกมาหรือหากรุนแรงมากก็อาจทำให้ทารกเสียชีวิตได้

ดังนั้นเพื่อป้องกันการเกิดภาวะทารกเครียดในครรภ์ สิ่งที่คุณแม่พอทำได้คือการสังเกตว่าลูกดิ้นหรือไม่ดิ้น หากพบว่าลูกไม่ดิ้นหรือมีอาการที่ปกติกับคุณแม่ ต้องรีบไปพบแพทย์โดยทันที.

แหล่งที่มา : www.haamor.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :
ภาวะน้ำเดินก่อนกำหนดต้องทำอย่างไร?
ภาวะครรภ์เป็นพิษ อาการร้ายใกล้ตัวที่แม่ท้องควรรู้!

theAsianparent Community

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • อาการแม่ท้องแบบไหนเสี่ยงให้ลูกเกิดภาวะเครียดในครรภ์
แชร์ :
•••
  • เช็คเลย อาการผิดปกติหลังคลอด แบบนี้เรียกผิดปกติจริงไหม

    เช็คเลย อาการผิดปกติหลังคลอด แบบนี้เรียกผิดปกติจริงไหม

  • 6 อาการผิดปกติหลังคลอดที่ไม่ควรมองข้าม

    6 อาการผิดปกติหลังคลอดที่ไม่ควรมองข้าม

  • ประกันสังคมสงเคราะห์บุตร คุณแม่ควรรู้

    ประกันสังคมสงเคราะห์บุตร คุณแม่ควรรู้

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

app info
get app banner
  • เช็คเลย อาการผิดปกติหลังคลอด แบบนี้เรียกผิดปกติจริงไหม

    เช็คเลย อาการผิดปกติหลังคลอด แบบนี้เรียกผิดปกติจริงไหม

  • 6 อาการผิดปกติหลังคลอดที่ไม่ควรมองข้าม

    6 อาการผิดปกติหลังคลอดที่ไม่ควรมองข้าม

  • ประกันสังคมสงเคราะห์บุตร คุณแม่ควรรู้

    ประกันสังคมสงเคราะห์บุตร คุณแม่ควรรู้

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
บทความ
  • สังคมออนไลน์
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • สุขภาพ
  • ชีวิตครอบครัว
  • การศึกษา
  • ไลฟ์สไตล์​
  • วิดีโอ
  • ชอปปิง
เครื่องมือ
  • ?คอมมูนิตี้สำหรับคุณแม่
  • ติดตามการตั้้งครรภ์
  • ติดตามพััฒนาการของลูกน้อย
  • สูตรอาหาร
  • อาหาร
  • โพล
  • VIP Parents
  • การประกวด
  • โฟโต้บูท

ดาวน์โหลดแอปของเรา

Appstore
  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ?ฟีด
  • โพล
เปิดในแอป