X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

รอข่าวดี! เตรียมเสนอ สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน หรือ 180 วัน คาดปีหน้าได้ใช้

15 Sep, 2017
รอข่าวดี! เตรียมเสนอ สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน หรือ 180 วัน คาดปีหน้าได้ใช้รอข่าวดี! เตรียมเสนอ สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน หรือ 180 วัน คาดปีหน้าได้ใช้

อดใจไม่ไหว อยากให้ประกาศใช้เร็ว ๆ สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน หรือ 180 วัน

รอข่าวดี! สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน

พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) ครั้งที่ 5/2560 ณ ทำเนียบรัฐบาล ได้กล่าวถึงสิทธิลาคลอด หลังมีการหารือกับภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในประเด็นการขยายสิทธิการลาคลอดเป็น 180 วัน หรือ 6 เดือน ว่า การลาคลอดนั้น เราส่งเสริมคุณแม่ควรจะให้นมลูกอย่างน้อยเป็นเวลา 6 เดือน แล้วหลังจากนั้นอาจจะมีอาหารเข้ามาเสริมได้บ้าง แต่ที่ผ่านมา เรามีกฎหมายอนุญาตให้ทั้งหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน อนุญาตให้คุณแม่ลาคลอดได้จำนวน 90 วัน ดังนั้น รัฐควรออกกฎหมาย โดยอาจอนุญาตให้ สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน ซึ่งคุณแม่สามารถลาคลอดได้ 180 วัน หรือ 6 เดือน ซึ่งขณะนี้ยังอยู่ระหว่างดำเนินการ โดยจะมีการรับฟังความคิดเห็นในช่วงเดือน ตุลาคมนี้ คาดว่าจะออกประกาศได้ภายในเดือน มี.ค. 2561

สิทธิลาคลอด และการรักษาสมดุลระหว่างงานและลูก

เป็นที่ถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องนะคะ กับการใช้สิทธิลาคลอด ทั้งประเทศในแถบอเมริกาและยุโรปเอง เนื่องจากมีหลายงานวิจัยที่บอกว่าการที่พ่อหรือแม่หรือทั้งคู่ มีเวลาเลี้ยงลูกเต็มเวลานานเท่าใด เด็กๆ จะยิ่งประสบความเร็จเร็วเท่านั้น แต่ในทางปฏิบัติมันไม่ได้สวยหรูแบบนั้นเสมอไปค่ะ เนื่องจากสวัสดิการลาคลอดนั้นมีนายจ้างเพียงไม่กี่ราย ที่ตกลงยอมทำตามกฎกติกาที่สามารถให้ลูกจ้างลาคลอดได้เต็มที่ คุณแม่ส่วนใหญ่ยังต้องกลับมาทำงานเร็วกว่าเดิมแทบทั้งนั้นค่ะ

สวัสดิการอุดมคติมีแค่ในทฤษฎี

เนื่องจากกรณีที่นายจ้างไม่ได้ให้ความเป็นธรรมแก่บรรดาคุณแม่ที่เป็นลูกจ้าง ที่ประเทศอเมริกาจึงมีการฟ้องร้องกันเกิดขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้บรรดาบริษัทหรือนายจ้างต่างๆ มองว่าเป็นสวัสดิการที่แพงเกินไป จึงทำให้บริษัทและนายจ้างเหล่านี้เลือกที่จะจ้างผู้หญิงซึ่งไม่อยู่ในช่วงอายุที่จะมีลูกอ่อนแทน ซึ่งเป็นที่น่าเสียดายแรงงานดีๆ ที่ถูกตัดทิ้งไป เนื่องจากมีงานวิจัยจากมหาวิทยาลัย Rutgers เปิดเผยข้อมูลว่า หลังจากที่ผู้หญิงลาคลอดไปก็สามารถกลับมาทำงานได้ปกติ และเป็นค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่าการที่บริษัทจะจ้างคนใหม่ และเสียเวลาไปกับการสอนงานใหม่อีก

สร้างสมดุลระหว่างงานและลูก

เมื่อคุณพ่อคุณแม่ยุคนี้ก้าวเข้าสู่ยุคดิจิตอลเต็มตัว จึงมีทางเลือกที่หลากหลายมากขึ้น ในการบริหารจัดการการทำงานและครอบครัว เพื่อสร้างสมดุลระหว่างเรื่องงานและลูกนั่นเองค่ะ

  1. เพิ่มความยืดหยุ่น

ผลวิจัยที่เก็บข้อมูลในปี 2008-2014 เผยว่าลูกจ้างจะทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อมีอิสระและการยืดหยุ่นในเรื่องของเวลาและสถานที่ทำงาน จาก 50% เป็น 67% ควบคุมผลงานได้ดีขึ้นจาก 84% เป็น 92% ไม่ต้องทำงานล่วงเวลาจาก 27% เป็น 45% และไม่ต้องลาหยุดจาก 73% เป็น 82%

  1. องค์กรเล็กๆ

มีความยืดหยุ่นมากกว่าองค์ใหญ่ๆ ในเรื่องของการเข้างานและลางานเมื่อเทียบกับองค์กรใหญ่ 33% ต่อ 20% การทำงานโดยไม่ต้องเข้าออฟฟิศหรือทำงานที่ไหนก็ได้ 11% ต่อ 4% การลาไปทำธุระโดยที่ไม่หักเงินเดือน 52% ต่อ 36% ซึ่งจำนวนคนเก่งๆ ก็มีแนวโน้มที่จะเลือกทำงานกับองค์กรเล็กๆ มากกว่าองค์กรใหญ่ๆ ด้วยข้อดีเหล่านี้

 
  1. เหตุจำเป็นที่ถูกมองข้าม

ไม่มีใครอยากให้คนในครอบครัวป่วย แต่มันไม่สิ่งที่สามารถเลือกได้ ลูกจ้างจำนวนไม่น้อยที่มีเหตุจำเป็นเหล่านี้ ซึ่งต้องยอมลางานโดยที่โดนหักเงินเดือนเป็นจำนวนถึง 58% ด้วยกัน โดยที่จำนวนเพียง 9% เท่านั้นที่มีการจ่ายเงินเดือนให้ในช่วงที่ลาเพราะมีเหตุจำเป็น จึงทำให้มีลูกจ้างจำนวนไม่น้อยที่เลือกจะหางานใหม่ที่มีความยืดหยุ่นมากว่า

ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยนะคะ กับการเลี้ยงลูกและทำงานไปพร้อมๆ กัน ในเมื่อสังคมเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรมที่เต็มรูปแบบ แต่ก็ใช่ว่าจะหมดหวังไปเสียทีเดียวค่ะ คุณแม่ที่มีลูกเล็กยังมีทางเลือกในการหานายจ้างที่มีสถานรับเลี้ยงเด็กในที่ทำงาน บางองค์กรมีห้องให้ปั๊มนม มีตู้แช่ให้ หรือบางองค์กรส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นมากมายในตอนนี้ ต่างก็บริหารงานภายใต้คนยุคใหม่ ที่มีลักษณะการทำงานแบบเดียวกันกับเรา ความยืดหยุ่นในการทำงานจึงไม่ใช่เรื่องที่เป็นอุดมคติเท่านั้นแล้วละค่ะ

 

ที่มา : https://www.khaosod.co.th

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ

สวัสดิการลาคลอดสุดเริ่ดของประเทศต่าง ๆ

แจ้งสิทธิ์! คุณพ่อข้าราชการลาคลอดช่วยแม่เลี้ยงลูกได้ 15 วัน

สิทธิลาคลอดและการรักษาสมดุลระหว่างงานและลูก

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • รอข่าวดี! เตรียมเสนอ สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน หรือ 180 วัน คาดปีหน้าได้ใช้
แชร์ :
  • สิทธิแม่ลาคลอด 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 80

    สิทธิแม่ลาคลอด 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 80

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

    สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

app info
get app banner
  • สิทธิแม่ลาคลอด 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 80

    สิทธิแม่ลาคลอด 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 80

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

    สวยตามรอย พีพี กฤษฏ์ กับ Beauty Items ที่เป็นพรีเซนเตอร์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ