theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง

วิธีคำนวณปริมาณน้ำนมที่ทารกต้องการในแต่ละมื้อ

บทความ 3 นาที
แชร์ :
•••
วิธีคำนวณปริมาณน้ำนมที่ทารกต้องการในแต่ละมื้อ

วิธีคำนวณปริมาณน้ำนม ก่อนคิดว่านมแม่ไม่พอ

วิธีคำนวณปริมาณน้ำนม

วิธีคำนวณปริมาณน้ำนม : โดยส่วนใหญ่แล้ว ทารกอายุที่มีอายุตั้งแต่ 1-6 เดือน ที่กินนมแม่เพียงอย่างเดียวนั้น มีความต้องการน้ำนมเฉลี่ยวันละประมาณ 25 ออนซ์ (750 ml) อย่างไรก็ตาม ทารกแต่ละคนนั้น มีความต้องการน้ำนมแม่ไม่เท่ากัน โดยมีปริมาณเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 19-30 ออนซ์ ต่อวัน (570-900 ml) ซึ่งทารกบางคนที่กินน้อยอาจกินแค่วันละ 19 ออนซ์ ส่วนทารกที่กินเก่ง ๆ ก็อาจกินได้มากถึงวันละ 30 ออนซ์เลยก็มี

และจากข้อมูลดังกล่าว เราสามารถนำมาใช้คำนวณปริมาณน้ำนมที่ทารกต้องการในแต่ละมื้อ โดยเฉพาะสำหรับคุณแม่ที่ต้องกลับไปทำงานได้ ซึ่งวิธีการก็คือ นำ 25 หารด้วยจำนวนมื้อที่ทารกกิน ยกตัวอย่างเช่น ถ้าลูกดูดนมแม่วันละ 8 ครั้ง ปริมาณน้ำนมต่อมื้อที่ควรจะเตรียมก็คือ 3 ออนซ์ (25/8 = 3.1) นั่นเองครับ

วิธีคำนวณปริมาณน้ำนม

ให้ลูกกินนมมากไป ระวัง Overfeeding

คุณแม่หลายคนอาจจะคิดว่า หากให้ทารกแรกเกิดกินนมมากขึ้นในแต่ละครั้งที่ให้นม ก็ทำให้กระเพาะขยายได้เร็วขึ้น ซึ่งนั่นก็เป็นความคิดที่ไม่ถูกต้องนัก การพยายามให้ทารกกินนมเพิ่มขึ้นนั้นอาจทำให้ทารกได้รับน้ำนมมากเกินไป หรือ Overfeeding ทำให้ลูกงอแง แหวะนม หรืออาเจียนออกมา เพราะว่านมล้นกระเพาะ หรืออาจนำไปสู่นิสัยการกินที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และนำไปสู่สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคอ้วนในภายหลังได้

ดังนั้น คุณแม่จึงควรให้ทารกเริ่มกินนมจำนวนน้อย ๆ แต่บ่อยครั้ง เพื่อสร้างนิสัยการกินที่ดีต่อสุขภาพให้กับลูกน้อยตั้งแต่แรกคลอด และหากคุณแม่ให้ลูกดูดนมบ่อย ๆ ทุก 2-3 ชั่วโมง ยิ่งดูดบ่อย ร่างกายของคุณแม่ก็จะยิ่งผลิตน้ำนมมากขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ต้องกลัวน้ำนมจะไม่เพียงพอสำหรับลูกเลยครับ

หรือหากคุณแม่ท่านไหนที่ยังกังวลเรื่องปริมาณของน้ำนม น้ำนมมีน้อย ก็ติดตามอ่านวิธีเพิ่มน้ำนมได้จากบทความด้านล่างนี้เลย


ขอบคุณภาพประกอบและข้อมูลจาก breastfeedingthai

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

กินอะไรน้ำนมถึงเยอะ 6 อาหารเพิ่มน้ำนม ที่ช่วยเพิ่มพูนปริมาณน้ำนมแม่ให้ไหลปรู๊ดพุ่งปรี๊ด

ทำงานนอกบ้าน ลูกทานนมแม่ได้สบาย พร้อมเทคนิคเพิ่มน้ำนมไม่ต้องพึ่งยา

ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนม ไม่ต้องกลัวลูกไม่พอกิน

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • วิธีคำนวณปริมาณน้ำนมที่ทารกต้องการในแต่ละมื้อ
แชร์ :
•••
  • เทคนิคบำรุงน้ำนม และปริมาณนมของเด็กแรกเกิดที่กินในแต่ละวัน

    เทคนิคบำรุงน้ำนม และปริมาณนมของเด็กแรกเกิดที่กินในแต่ละวัน

  • ความเชื่อเรื่องอาหารกับการเพิ่มปริมาณน้ำนม ไม่ควรกินอะไร

    ความเชื่อเรื่องอาหารกับการเพิ่มปริมาณน้ำนม ไม่ควรกินอะไร

  • ความแตกต่างของหน้ากากอนามัย 6 ชนิดยอดนิยมในเมืองไทย

    ความแตกต่างของหน้ากากอนามัย 6 ชนิดยอดนิยมในเมืองไทย

  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

app info
get app banner
  • เทคนิคบำรุงน้ำนม และปริมาณนมของเด็กแรกเกิดที่กินในแต่ละวัน

    เทคนิคบำรุงน้ำนม และปริมาณนมของเด็กแรกเกิดที่กินในแต่ละวัน

  • ความเชื่อเรื่องอาหารกับการเพิ่มปริมาณน้ำนม ไม่ควรกินอะไร

    ความเชื่อเรื่องอาหารกับการเพิ่มปริมาณน้ำนม ไม่ควรกินอะไร

  • ความแตกต่างของหน้ากากอนามัย 6 ชนิดยอดนิยมในเมืองไทย

    ความแตกต่างของหน้ากากอนามัย 6 ชนิดยอดนิยมในเมืองไทย

  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
  • สังคมออนไลน์
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
  • สุขภาพ

ดาวน์โหลดแอปของเรา

google play store
Appstore
  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
เปิดในแอป