theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง

อุทาหรณ์! ลูกถ่ายเป็นมูกเลือด อย่านิ่งนอนใจ เสี่ยงป่วยลำไส้กลืนกัน

บทความ 3 นาที
แชร์ :
•••
อุทาหรณ์! ลูกถ่ายเป็นมูกเลือด อย่านิ่งนอนใจ เสี่ยงป่วยลำไส้กลืนกัน

พ่อแชร์ประสบการณ์ลูกน้อยงอแง ปวดท้องเหมือนท้องอืด อาเจียน ถ่ายเป็นสีแดงเข้ม เสี่ยงเป็นโรคลำไส้กลืนกัน พาไปรักษาไม่ทันอาจลำไส้เน่า ติดเชื้อในกระแสเลือด

อุทาหรณ์! ลูกป่วยลําไส้กลืนกัน

อุทาหรณ์! พ่อแชร์ประสบการณ์ ลูกป่วยลําไส้กลืนกัน ลูกน้อยงอแง ปวดท้องเหมือนท้องอืด อาเจียน ถ่ายเป็นสีแดงเข้ม เสี่ยงเป็นโรคลำไส้กลืนกัน พาไปรักษาไม่ทันอาจลำไส้เน่า ติดเชื้อในกระแสเลือดเสียชีวิต

ลูกป่วยลําไส้กลืนกัน

ลูกป่วยลําไส้กลืนกัน

วันที่ 28 ส.ค.61 เฟซบุ๊ก Rachatanawee Juljuewong ซึ่งเป็นคุณพ่อได้เล่าประสบการณ์ลูกน้อยเป็นโรคลำไส้กลืนกัน ซึ่งเป็นโรคที่เกิดอย่างไม่รู้สาเหตุแน่ชัด หากปล่อยทิ้งไว้เป็นเวลานานจะเกิดภาวะลำไส้ขาดเลือดจนเกิดการเน่า ลำไส้แตกทะลุ และเยื่อบุช่องท้องอักเสบ รวมทั้งติดเชื้อในกระแสเลือดและอาจจะเสียชีวิตได้

คุณพ่อเล่าว่า ลูกจะมีอาการงอแงเหมือนท้องอืด นอนเป็นพักๆ ไม่ถึงชั่วโมงก็ร้องอีก ไม่กินนม อาเจียนหลายครั้งจากนมเป็นน้ำ หน้าซีด เมื่อพาไปโรงพยาบาล เบื้องต้นได้รับยาแก้คลื่นไส้ ยาปรับลำไส้ คาดว่าน่าจะติดเชื้อในทางเดินอาหาร แต่ลูกก็ยังมีอาการงอแงทุก 10-20 นาที อาเจียนเป็นน้ำดี ถ่ายเหลวเป็นสีแดงเข้ม ทำให้หมอคิดว่าอาจจะเป็นลำไส้กลืนกัน จึงมีการตรวจอัลตราซาวนด์ และพบว่ามีการกลืนกันของลำไส้ใหญ่

สำหรับวิธีการรักษามี 2 วิธี คือใช้ลมปั๊มเข้าไปทางรูก้นไปให้ลำไส้คลายตัว และถ้าวิธีแรกไม่สำเร็จจะต้องทำการผ่าเปิดหน้าท้องแล้วใช้มือบีบให้ลำไส้คลายตัว ซึ่งในกรณีนี้คุณหมอได้ใช้วิธีแรก ซึ่งขณะที่ทำการเป่าลมจะเอกซเรย์ไปด้วยเพื่อให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของลำไส้ และเป็นโชคดีของคุณพ่อเพราะในที่สุดการปั๊มลมรอบสอง ก็ไหลลื่นด้วยดี ลำไส้พองตัวสวยงาม

ที่มา : https://www.thairath.co.th

บทความอื่นที่น่าสนใจ

ทารก 3 เดือนถึง 2 ปี วัยเสี่ยงโรคลำไส้กลืนกัน ลูกตายได้ ถ้าแม่ไม่สังเกตอาการ จะรักษาไม่ทัน

ทรมานตั้งแต่เกิด ลูกแรกเกิดป่วย โรคลำไส้ใหญ่โป่งพองแต่กำเนิด (Hirschsprung’s disease)

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

บทความโดย

wachira

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • อุทาหรณ์! ลูกถ่ายเป็นมูกเลือด อย่านิ่งนอนใจ เสี่ยงป่วยลำไส้กลืนกัน
แชร์ :
•••
  • ทารก 3 เดือนถึง 2 ปี วัยเสี่ยงโรคลำไส้กลืนกัน ลูกตายได้ ถ้าแม่ไม่สังเกตอาการ จะรักษาไม่ทัน

    ทารก 3 เดือนถึง 2 ปี วัยเสี่ยงโรคลำไส้กลืนกัน ลูกตายได้ ถ้าแม่ไม่สังเกตอาการ จะรักษาไม่ทัน

  • โรคลำไส้กลืนกัน ความเจ็บปวดที่ลูกบอกไม่ได้

    โรคลำไส้กลืนกัน ความเจ็บปวดที่ลูกบอกไม่ได้

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

  • ชื่อลูกต้องห้าม ชื่อไหนห้ามตั้งให้ลูก ชื่อลูกความหมายไม่ดี ตั้งแล้วผิดกฎหมาย

    ชื่อลูกต้องห้าม ชื่อไหนห้ามตั้งให้ลูก ชื่อลูกความหมายไม่ดี ตั้งแล้วผิดกฎหมาย

app info
get app banner
  • ทารก 3 เดือนถึง 2 ปี วัยเสี่ยงโรคลำไส้กลืนกัน ลูกตายได้ ถ้าแม่ไม่สังเกตอาการ จะรักษาไม่ทัน

    ทารก 3 เดือนถึง 2 ปี วัยเสี่ยงโรคลำไส้กลืนกัน ลูกตายได้ ถ้าแม่ไม่สังเกตอาการ จะรักษาไม่ทัน

  • โรคลำไส้กลืนกัน ความเจ็บปวดที่ลูกบอกไม่ได้

    โรคลำไส้กลืนกัน ความเจ็บปวดที่ลูกบอกไม่ได้

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

  • ชื่อลูกต้องห้าม ชื่อไหนห้ามตั้งให้ลูก ชื่อลูกความหมายไม่ดี ตั้งแล้วผิดกฎหมาย

    ชื่อลูกต้องห้าม ชื่อไหนห้ามตั้งให้ลูก ชื่อลูกความหมายไม่ดี ตั้งแล้วผิดกฎหมาย

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
  • สังคมออนไลน์
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
  • สุขภาพ

ดาวน์โหลดแอปของเรา

google play store
Appstore
  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
เปิดในแอป