theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • ประกันชีวิต
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • TAP IDOL

เรื่องของพ่อแม่ที่เริ่มมีลูกเข้าวัย 2 ขวบ ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย ควรอ่าน

บทความ 5 นาที
•••
เรื่องของพ่อแม่ที่เริ่มมีลูกเข้าวัย 2 ขวบ ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย ควรอ่านเรื่องของพ่อแม่ที่เริ่มมีลูกเข้าวัย 2 ขวบ ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย ควรอ่าน

เรื่องของพ่อแม่ที่เริ่มมีลูกเข้าวัย 2 ขวบควรอ่าน ทำไมเรามักจะพบว่าเด็กในวัยนี้ถึงมีพฤติกรรมก้าวร้าว อารมณ์ร้าย จู่ ๆ ก็เอาของเล่นไปตีเพื่อน พอไม่มีใครเล่นด้วยก็งอแงหนักมาก เข้าขั้นปาของ หรือหวงของเล่นไม่ยอมแบ่งใคร

เรื่องของพ่อแม่ที่เริ่มมีลูกเข้าวัย 2 ขวบ ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้ายควรอ่าน

เรื่องของพ่อแม่ที่เริ่มมีลูกเข้าวัย 2 ขวบ ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย ควรอ่าน เรื่องของพ่อแม่ควรอ่าน  จากลูกน่ารักในช่วงขวบปีแรก แต่พอเข้าสู่ช่วง 2 ขวบ ไหงกลายเป็นตัวป่วน ออกฤทธิ์อย่างวายร้าย ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย ซึ่งพ่อ แม่ ควรจะเข้าใจว่า เรื่องแบบนี้ถือเป็นเรื่องปกติ ของเด็กในวัยนี้ หรือ ที่เรียกว่าภาวะ “ terrible twos ” เป็นภาวะการเปลี่ยนแปลง ทางอารมณ์ของเด็กที่ขึ้น ๆ ลง ๆ   อย่างรวดเร็วมาก มาดูพฤติกรรมลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย

Read : ต้องรู้! วายร้ายวัย 2 ขวบหรือ Terrible twos คืออะไร

ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย

เรื่องของพ่อแม่ที่เริ่มมีลูกเข้าวัย 2 ขวบ ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย ควรอ่าน

เด็กในวัยนี้ จะมีความเป็นเจ้าเข้า เจ้าของสูง หวงของ หรือ แม้กระทั่งความรัก จากพ่อ แม่ จนไม่อยากให้ใครมาเอาไป และ ทำร้ายคนรอบข้าง เพราะเข้าใจว่า การทำร้าย จะทำให้เขาได้ ในสิ่งที่ต้องการ พฤติกรรมนี้ เป็นสิ่งที่พ่อ แม่ ควรรับมือให้ดี และ หาทางออกให้กับลูกนะคะ

แก้ไขพฤติกรรมลูกก้าวร้าวอย่างไรดี

ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย

เรื่องของพ่อแม่ที่เริ่มมีลูกเข้าวัย 2 ขวบ ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย ควรอ่าน

#ลงโทษลูกด้วยการไม่ลงมือตี

โล่งใจได้ว่า พฤติกรรมก้าวร้าว อารมณ์ร้ายของลูกวัย 2 ขวบนั้น จะไม่เป็นนิสัยติดตัวลูกไปจนโต หากแต่พ่อ แม่ ควรใช้ความอดทน ในการอธิบายเหตุผล เมื่อลูก มีอารมณ์ก้าวร้าวขึ้นมา เช่น การใช้วิธีลงโทษ ให้เหมาะสม กับวัย แบบไม่ต้องลงมือ ตี หรือ ดุ ว่า อาทิ งดเล่นกิจกรรมนั้น ๆ พาลูกออกมานั่ง เพื่อสงบสติอารมณ์ เป็นเวลา 1 – 2 นาที และ อธิบายให้เขาเข้าใจ จะทำให้ลูก ได้เรียนรู้ ว่าเมื่อไหร่ที่เขาทำไม่ดี จะต้องโดนทำโทษแบบนี้ หรือ เรียกว่าเป็นวิธีการลงโทษแบบ Time Out

Read : รวมวิธีลงโทษลูก ได้ผลดีแบบไม่ต้องลงมือตี !!!

#ใช้คำพูดด้วยน้ำเสียงที่นุ่มนวล

หลังลูกสงบอารมณ์แล้ว อธิบายให้เขาเข้าใจ ถึงเหตุการณ์ที่เกิด และ การมีพฤติกรรมที่เขาทำไม่ดี ถามถึงสาเหตุ และ หาทางออกให้ลูก ด้วยคำพูดที่เด็กฟังแล้วเข้าใจ ยกตัวอย่างง่าย ๆ เช่น ลูกไม่จำเป็นต้องไป ตี หรือ ทำร้ายคนอื่น แต่ให้ใช้คำพูดแทนว่า “ เราโมโหแล้วนะ ” และ สอนให้รู้ว่า เมื่อทำผิดลูกควรกล้าที่ ขอโทษ ด้วย

#ชมเชยลูก

พ่อ แม่ ไม่ควรคอยแต่ลงโทษลูก เมื่อเห็นเขาทำผิดอย่างเดียว แต่สามารถพูดชมเชยลูกได้ เมื่อเขาทำในสิ่งที่ดี หรือ เมื่อเขาสามารถแก้ปัญหาได้เอง โดยไม่ใช้ความก้าวร้าว เช่น เปลี่ยนการหวงของเล่น เป็นแบ่งของเล่นให้เพื่อน หรือ น้อง แล้วไปเล่นอย่างอื่นแทน

Read : 5 วิธีสร้าง “คำชม” เสริมใจลูกให้กล้าแกร่ง

ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย

เรื่องของพ่อแม่ที่เริ่มมีลูกเข้าวัย 2 ขวบ ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย ควรอ่าน

#ดูแลการดูโทรทัศน์ของลูกอย่างใกล้ชิด

การดูทีวี เป็นเรื่องใกล้ตัว ที่ส่งผลต่อพฤติกรรม ก้าวร้าว ของลูกได้นะคะ ซึ่งเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ ไม่ควรดูรายการ ที่มีภาพใช้ความรุนแรง เพราะเด็กเล็ก ยังไม่สามารถแยกความจริง กับเรื่องสมมติได้ พ่อแม่ควรเลือกรายการ ที่เหมาะสมกับวัยของลูก และ อธิบายถึงพฤติกรรม ของตัวละครต่าง ๆ บอกให้เห็นสิ่งดีไม่ดี ถูกผิด ฯลฯ หรือ หากมีลูกนั่งอยู่ด้วย ควรงดดูทีวี และ ทำกิจกรรมเล่น กับลูกอื่น ๆ แทนดีกว่าค่ะ

Read : 9 สัญญาณอันตรายเมื่อเจ้าตัวเล็กเป็น “โรคติดทีวี”

ทั้งนี้ พฤติกรรมก้าวร้าวของลูกวัย 2 ขวบนั้น ขึ้นอยู่กับพื้นฐานทางอารมณ์ ของเด็ก แต่ละคน ซึ่งอาจจะแตกต่างกัน แต่พฤติกรรมที่เกิดขึ้น ในช่วงนี้ถือเป็นธรรมชาติของเด็ก ที่เริ่มเป็นตัวของตัวเอง และ พยายามที่จะลองผิด ลองถูก เพื่อทดสอบความสามารถ ของตัวเอง และ จะลดลงเมื่อลูกโตขึ้น มีสมาธิมากขึ้น เริ่มรู้จักว่าสิ่งไหนควรไม่ควร ไปตามวัยที่เหมาะสม.


Credit content: www.pstip.com

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

9 วิธี เลี้ยงลูกแบบไหนให้โตมาไม่ก้าวร้าว

ลูกมีนิสัยก้าวร้าวชอบตีผู้ใหญ่ ควรทำอย่างไร?

รู้เท่าทัน! ผดร้อนในทารก พร้อมวิธีป้องกันที่คุณแม่ทุกคนควรรู้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

img

บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • เรื่องของพ่อแม่ที่เริ่มมีลูกเข้าวัย 2 ขวบ ลูกก้าวร้าว+อารมณ์ร้าย ควรอ่าน
แชร์ :
•••
  • ทำไมลูกก้าวร้าว ต้นตอของปัญหาความก้าวร้าวในตัวเด็ก มีแบบไหนบ้าง

    ทำไมลูกก้าวร้าว ต้นตอของปัญหาความก้าวร้าวในตัวเด็ก มีแบบไหนบ้าง

  • 9 วิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เมื่อลูกเริ่มก้าวร้าว

    9 วิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เมื่อลูกเริ่มก้าวร้าว

  • "นิวเคลียร์" เครียดตรวจพบเชื้อโควิด แล้วใครจะดูแลลูก

    "นิวเคลียร์" เครียดตรวจพบเชื้อโควิด แล้วใครจะดูแลลูก

  • อันตราย! ตอนท้องควรหลีกเลี่ยงทำงานบ้าน 8 อย่างนี้นะ

    อันตราย! ตอนท้องควรหลีกเลี่ยงทำงานบ้าน 8 อย่างนี้นะ

app info
get app banner
  • ทำไมลูกก้าวร้าว ต้นตอของปัญหาความก้าวร้าวในตัวเด็ก มีแบบไหนบ้าง

    ทำไมลูกก้าวร้าว ต้นตอของปัญหาความก้าวร้าวในตัวเด็ก มีแบบไหนบ้าง

  • 9 วิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เมื่อลูกเริ่มก้าวร้าว

    9 วิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เมื่อลูกเริ่มก้าวร้าว

  • "นิวเคลียร์" เครียดตรวจพบเชื้อโควิด แล้วใครจะดูแลลูก

    "นิวเคลียร์" เครียดตรวจพบเชื้อโควิด แล้วใครจะดูแลลูก

  • อันตราย! ตอนท้องควรหลีกเลี่ยงทำงานบ้าน 8 อย่างนี้นะ

    อันตราย! ตอนท้องควรหลีกเลี่ยงทำงานบ้าน 8 อย่างนี้นะ

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
บทความ
  • img
    สังคมออนไลน์
  • img
    COVID-19
  • img
    เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • img
    ช่วงวัยของเด็ก
  • img
    สุขภาพ
  • img
    ชีวิตครอบครัว
  • img
    การศึกษา
  • img
    ไลฟ์สไตล์​
  • img
    วิดีโอ
  • img
    ชอปปิง
  • img
    TAP IDOL
เครื่องมือ
  • ?คอมมูนิตี้สำหรับคุณแม่
  • ติดตามการตั้้งครรภ์
  • ติดตามพััฒนาการของลูกน้อย
  • สูตรอาหาร
  • อาหาร
  • โพล
  • img
    VIP Parents
  • การประกวด
  • โฟโต้บูท

ดาวน์โหลดแอปของเรา

  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • กฎการใช้งานคอมมูนิตี้
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ?ฟีด
  • โพล
เปิดในแอป