X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ท้องแล้วร่างกายเปลี่ยนไปแค่ไหน

บทความ 3 นาที
ท้องแล้วร่างกายเปลี่ยนไปแค่ไหน

ท้องแล้วร่างกายเปลี่ยนไปแค่ไหน กันนะ อยากรู้ไหมว่าเเม่ท้องเเต่ละคน ต้องทนรับกับความเปลี่ยนเเปลงที่ยิ่งใหญ่เเบบนี้ถึง 9 เดือนทีเดียว

ท้องแล้วร่างกายเปลี่ยนไปแค่ไหน

ไม่น่าเชื่อก็ต้องเชื่อ ท้องแล้วร่างกายเปลี่ยนไปแค่ไหน การตั้งครรภ์สักครั้งนอกจากเเค่น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นมา อวัยวะต่างๆ ในร่างกายล้วนมีความเปลี่ยนแปลงไปทั้งสิ้น

ระบบทางเดินหายใจ

2

  • ขณะที่ตั้งครรภ์ร่างกายของคุณเเม่จะต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้นทำให้อัตราการเต้นของหัวใจเต้นเร็วขึ้น
  • ปริมาตรอากาศที่เข้าและออกจากปอดเพิ่มขึ้น
  • เกิดภาวะด่างจากระบบหายใจ เนื่องจากหายใจเร็วขึ้น อัตราหายใจเพิ่มขึ้น หายใจเเรงเเละลึกขึ้น
  • ความสามารถในการทำงานของร่างกายลดลง
  • ปริมาณอากาศที่หายใจเข้าออกลดลง
  • คุณเเม่ท้องบางคนอาจจะมีบางช่วงที่รู้สึกหายใจไม่ออกได้

ระบบหัวใจและหลอดเลือด

3

  • ขณะตั้งครรภ์ระบบหัวใจเเละหลอดเลือดจะมีการปรับการทำงานขึ้นใหม่
  • ปริมาณเลือดจะเพิ่มขึ้น เส้นเลือดต่างๆ ขยายตัว เกิดเเรงดันขึ้นที่มดลูก ทำให้เลือดไปหล่อเลี้ยงหัวใจได้ช้าลง
  • ปริมาตรเลือดส่งออกจากหัวใจต่อนาทีเพิ่มขึ้น
  • ชีพจรขณะพักสูงขึ้น
  • ความต้านทานของหลอดเลือดลดลง
  • ในไตรมาสที่สองความดันเลือดจะลดลง

ระบบทางเดินอาหาร

4

  • ขนาดของลูกในครรภ์จะไปเบียดอวัยวะภายในอย่างระบบทางเดินอาหารทำให้เกิดอาการต่างๆ
  • การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหารลดลง มีการสร้างกรดต่างๆ เพิ่มขึ้น ทำให้อาจเกิดกรดไหลย้อน

ระบบต่อมไร้ท่อ

6

  • ฮอร์โมนเอสโทรเจนเเละโพรเจสทอโรนเพิ่มขึ้นในสัปดาห์ที่ 10 – 12 ทำให้เกิดการเปลี่ยนเเปลงขึ้นในร่างกาย
  • คุณแม่อาจมีอาการร้อนๆ หนาวๆ จากการเปลี่ยนเเปลงของฮอร์โมนที่เพิ่มขึ้น มีการเปลี่ยนเเปลงอัตราการความต้องการเผาผลาญของร่างกายในชีวิตประจำวัน หรือ BMR
  • ร่างกายต้องการเเคลเซียมเพิ่มขึ้น
  • เมื่อใกล้คลอด ต่อมใต้สมองส่วนหลัง จะปล่อยฮอร์โมนออกซิโทซินเพื่อเตรียมพร้อมในการคลอดลูก
  • เมื่อคลอดลูกเเล้วร่างกายจะหลั่งโพรเเลกทินเพื่อกระตุ้นให้มีการสร้างน้ำนม

ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก

9

  • ฮอร์โมนอย่างรีเลซินเเละโพรเจสทอโรนเพิ่มขึ้น ทำให้มีข้อต่อเเละเอ็นต่างๆ ยืดหยุ่นมากขึ้น
  • มดลูกขยายใหญ่ขึ้นทุกสัปดาห์ ร่างกายจึงปรับกระดูกเพื่อช่วยในการทรงตัว เเต่อาจทำให้คุณเเม่ปวดหลังได้
  • อุ้งเชิงกรานขยายเพื่อพร้อมรับมือในการคลอด
  • ร่างกายต้องการเเคลเซียมเพิ่มขึ้นเพื่อทดเเทนการดึงไปใช้ในการสร้างร่างกายของลูก

ผิวหนังเปลี่ยนเเปลง

10

  • ผิวอาจเเตกลายได้บริเวณที่มีการขยาย เช่น หน้าท้อง หน้าอก ทิ้งรอยเอาไว้ให้ดูต่างหน้า
  • ผิวอาจคล้ำขึ้น บริเวณรอบสะดือ ข้อพับอย่างรักเเร้ เเละใบหน้า(อาจมีฝ้าขึ้น)
  • ผิวนูนขึ้นคล้ายใยเเมงมุม เป็นเหตุมาจากการขยายเส้นเลือดฝอย จากการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนเอสโทรเจน

หน้าท้องเปลี่ยนเเปลง

7

  • หน้าท้องขยายใหญ่ขึ้นตามสัปดาห์เเละเดือนที่เพิ่มขึ้น

หน้าอกเปลี่ยนแปลง

5

  • หน้าอกขยายใหญ่ขึ้นเเละมีความอ่อนไหวมากขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนเอสโทรเจนเเละโพรเจสทอโรน เเละเพื่อเตรียมพร้อมในการให้นมลูก
  • หัวนมยื่นออกมามากขึ้น
  • เมื่อเข้าสู่ไตรมาสที่ 3 อาจจะมีน้ำนมส่วนเเรกที่เรียกว่าโคลอสทรัมไหนออกมาก่อนคลอดลูกได้ ซึ่งจะมีลักษณะเป็นสีเหลือง

น้ำหนักเปลี่ยนเเปลง

12

  • ในสัปดาห์แรกถึงสัปดาห์ที่ 15 หรือไตรมาสเเรก น้ำหนักจะขึ้นมาประมาณ 1-1.5 กิโลกรัม
  • ในสัปดาห์ที่ 16 ถึงสัปดาห์ที่ 27 หรือไตรมาสสอง น้ำหนักจะขึ้นมาประมาณ 7.5 กิโลกรัม
  • ในสัปดาห์ที่ 28 ถึงสัปดาห์ที่ 40 หรือไตรมาสสาม น้ำหนักจะขึ้นมาประมาณ 12-17 กิโลกรัม

การเปลี่ยนเเปลงอื่นๆ

11

  • เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน อาจทำให้ผมเเละเล็บของคุณเเม่มีการเปลี่ยนเเปลง
  • ตะคริวสามารถเกิดได้บ่อยขึ้น จากน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น เเละปริมาณเเคลเซียมหรือเเมกนีเซียมที่ลดลง
  • ข้อเท้าบวมเนื่องจากปริมาณของของเหลวในร่างกายที่เพิ่มขึ้น
  • อุณหภูมิร่างกายเพิ่มขึ้นในไตรมาสเเระ เเละจะกลับมาเป็นปกติหลังจากสัปดาห์ที่ 16

ที่มา Healtline

theAsianparent Community

บทความจากพันธมิตร
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ท้องแล้วร่างกายเปลี่ยนไปแค่ไหน
แชร์ :
  • พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 5

    พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 5

  • อาการตั้งครรภ์ ของคุณแม่แต่ละสัปดาห์ มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงไปบ้าง

    อาการตั้งครรภ์ ของคุณแม่แต่ละสัปดาห์ มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงไปบ้าง

  • 50 ชื่อลูกจากธนาคารทั่วโลก เสริมมงคล เรียกทรัพย์รัว ๆ

    50 ชื่อลูกจากธนาคารทั่วโลก เสริมมงคล เรียกทรัพย์รัว ๆ

  • เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

    เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

  • พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 5

    พัฒนาการการตั้งครรภ์ประจำสัปดาห์ที่ 5

  • อาการตั้งครรภ์ ของคุณแม่แต่ละสัปดาห์ มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงไปบ้าง

    อาการตั้งครรภ์ ของคุณแม่แต่ละสัปดาห์ มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงไปบ้าง

  • 50 ชื่อลูกจากธนาคารทั่วโลก เสริมมงคล เรียกทรัพย์รัว ๆ

    50 ชื่อลูกจากธนาคารทั่วโลก เสริมมงคล เรียกทรัพย์รัว ๆ

  • เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

    เด็กหญิง 6 ขวบ อ้วกและสลบ หลังกินข้าวไข่คนมะเขือเทศ คาดเพราะมะเขือเทศไม่สุก !

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ