theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง

ทารกป่วยเป็นโรคหัวบาตร สู้ชีวิตจนหาย!

2 Feb, 2021
แชร์ :
•••
ทารกป่วยเป็นโรคหัวบาตร สู้ชีวิตจนหาย!

ปาร์คเกอร์ต้องเกิดมาด้วยภาวะที่ปกตินั่นคือโรคหัวบาตรและกระโหลกเชื่อมติดก่อนกำหนด ใคร ๆ ก็ว่าเขาจะไม่รอด แต่ดูเขาวันนี้สิ!

หนูน้อยปาร์คเกอร์ต้องเกิดมาด้วยภาวะผิดปกติตั้งแต่กำเนิด ทำให้เขามีศีรษะที่ใหญ่โตกว่าปกติ ซึ่งคุณหมอเรียกภาวะนี้ว่า โรคหัวบาตรหรือโรคโพรงน้ำในสมองขนาดใหญ่

โรคหัวบาตร

โรคหัวบาตรหรือโรคโพรงน้ำในสมองขนาดใหญ่นั้น เป็นความผิดปกติที่มีน้ำในโพรงสมองมากเกินปกติ สืบเนื่องมากจากท่อทางเดินน้ำหล่อสมองและไขสันหลังอุดตัน ทำให้น้ำที่อยู่ในสมองและไขสันหลังที่ปกติแล้วจะเป็นตัวคอยป้องกันและหล่อเลี้ยงสมองไม่ให้ไปกดทับกับส่วนกะโหลก เกิดคั่งจนท่วมอยู่ในสมอง ทำให้ความดันในช่องสมองมีสูง ดันช่องสมองโตออกไปจนไปเบียดเนื้อสมอง และดันกะโหลกศีรษะให้โตออกจามีขนาดใหญ่ผิดปกติ

โรคหัวบาตร

โรคหัวบาตร

ภายหลังจากที่ปาร์คเกอร์เกิดได้ไม่กี่วัน คุณหมอก็ทำการผ่าตัดกะโหลกของเขาทันที ซึ่งแม้แต่คุณหมอก็ยังบอกให้คุณพ่อคุณแม่ของปาร์คเกอร์ทำใจ หลังผ่าตัดทุกอย่างผ่านพ้นไปด้วยดี ปาร์คเกอร์อดทน และเข้มแข็งมาก ภายหลังจากการพักฟื้นได้สองสัปดาห์คุณหมอก็อนุญาตให้คุณพ่อคุณแม่พาเขากลับไปดูแลที่บ้านได้ โดยในสัปดาห์ที่สี่ ปาร์คเกอร์จะต้องเริ่มทำกายภาพบำบัดที่โรงพยาบาล

โรคหัวบาตร

โรคหัวบาตร

ปัจจุบัน ปาร์คเกอร์ กำลังเรียนรู้ที่จะหัดเดิน ศีรษะของเขาถูกปกคลุมไปด้วยผมสีทอง และสวมใส่แว่นตา ถึงแม้ว่าเขาจะมีปัญหาในเรื่องของความจำ แต่เชื่อได้ว่า ด้วยความรักของคุณพ่อคุณแม่ ครอบครัว และทีมงานทุกคนในโรงพยาบาล ทุกคนจะช่วยทำให้ปาร์คเกอร์ดีขึ้นแน่นอน

โรคหัวบาตร เกิดจากได้จากหลายๆ สาเหตุ เช่น การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อวัณโรค ทางพันธุกรรม เกิดภาวะเลือดออกในสมอง ได้รับอุบัติเหตุ ฯลฯ แต่หากพบเด็กที่เป็น โรคหัวบาตร ตั้งแต่กำเนิด สาเหตุมักเกิดจากการอุดกั้นของทางผ่านของน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของท่อที่จะทำให้น้ำไขสันหลัง ที่จะผ่านออกมาจากสมองมีการตีบหรือไม่มีช่องว่าง หรือมีการอักเสบบริเวณท่อน้ำในสันหลัง จนกระทั่งเกิดการตีบขึ้นมา หรือมีความผิดปกติของระบบหลอดเลือด ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดการอุดตัน ซึ่งจะทำให้ความสามารถในการดูดซึมน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลังเสียไป

อาการของโรคหัวบาตรนั้น เด็กที่ป่วยจะมีอาการเกร็งที่แขนและขา เดินหรือยืนไม่ได้ จากนั้นศีรษะจะบวมและโตขึ้นเรื่อย ๆ จนเห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับขนาดของลำตัว มีหน้าผากที่โปนเด่นกว่าปกติ หนังศีรษะบางเป็นมัน หลอดเลือดดำบริเวณศีรษะมีขนาดใหญ่ผิดปกติชัดเจน กระหม่อมจะใหญ่มากกว่าปกติ และมักจะตึงมาก ผู้ป่วยโรคหัวบาตร จะร้องครวญครางตลอด เพราะรู้สึกเจ็บและปวดหัวมาก

การป้องกัน โรคหัวบาตร ของทารกในครรภ์  คุณแม่ที่ตั้งครรภ์ควรทานโฟเลต อย่าได้ขาด ซึ่งสามารถพบได้ใน ตับ ถั่ว หน่อไม้ฝรั่ง ผักปวยเล้ง ไข่ เมล็ดทานตะวัน มะเขือเทศ ส้ม และผักผลไม้สด ๆ

ที่มา: Little Things

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ:

โฟลิคในอาหารกับโฟลิคที่หมอให้ ต่างกันไหม?

แม่ท้องขาดกรดโฟลิค ทำให้ลูกเสี่ยงพิการและพัฒนาการล่าช้า

theAsianparent Community

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • ไลฟ์สไตล์​
  • /
  • ทารกป่วยเป็นโรคหัวบาตร สู้ชีวิตจนหาย!
แชร์ :
•••
  • กรมควบคุมโรคเตือนพ่อแม่ ระวังเด็กเล็กป่วยเป็นโรคหัด

    กรมควบคุมโรคเตือนพ่อแม่ ระวังเด็กเล็กป่วยเป็นโรคหัด

  • เป็นโรคหัวใจแล้วท้อง เลือกคลอดแบบไหน ทารกในครรภ์ อันตรายหรือไม่ วิธีดูแลตัวเองหลังคลอด

    เป็นโรคหัวใจแล้วท้อง เลือกคลอดแบบไหน ทารกในครรภ์ อันตรายหรือไม่ วิธีดูแลตัวเองหลังคลอด

  • ไม่อยากซวยต้องเลี่ยง! 10 ข้อห้ามวันตรุษจีน 2021 ไม่ควรทำวันตรุษจีน!

    ไม่อยากซวยต้องเลี่ยง! 10 ข้อห้ามวันตรุษจีน 2021 ไม่ควรทำวันตรุษจีน!

  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

app info
get app banner
  • กรมควบคุมโรคเตือนพ่อแม่ ระวังเด็กเล็กป่วยเป็นโรคหัด

    กรมควบคุมโรคเตือนพ่อแม่ ระวังเด็กเล็กป่วยเป็นโรคหัด

  • เป็นโรคหัวใจแล้วท้อง เลือกคลอดแบบไหน ทารกในครรภ์ อันตรายหรือไม่ วิธีดูแลตัวเองหลังคลอด

    เป็นโรคหัวใจแล้วท้อง เลือกคลอดแบบไหน ทารกในครรภ์ อันตรายหรือไม่ วิธีดูแลตัวเองหลังคลอด

  • ไม่อยากซวยต้องเลี่ยง! 10 ข้อห้ามวันตรุษจีน 2021 ไม่ควรทำวันตรุษจีน!

    ไม่อยากซวยต้องเลี่ยง! 10 ข้อห้ามวันตรุษจีน 2021 ไม่ควรทำวันตรุษจีน!

  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
  • สังคมออนไลน์
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
  • สุขภาพ

ดาวน์โหลดแอปของเรา

google play store
Appstore
  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
เปิดในแอป